การเปรียบเทียบความเข้าใจในการอ่าน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่สอนแบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค เอส ที เอ ดี กับการสอนแบบปกติ โรงเรียนบ้านวังน้ำเขียว อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ : วิทยานิพนธ์ = A comparison of reading comprehension of pratomsuksa 4 students with a stad techniques cooperative learning and regular method in wangnumkeaw school bangsaphan district Prachuap Khiri Khan province / ชนญา น้อยเนตร

By: ชนญา น้อยเนตรCall number: วพ 372.4 ช133ก Material type: BookBookPublisher: เพชรบุรี : สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2551Description: (10), 491 แผ่น ; 30 ซมOther title: A comparison of reading comprehension of pratomsuksa 4 students with a stad techniques cooperative learning and regular method in wangnumkeaw school bangsaphan district Prachuap Khiri Khan provinceSubject(s): มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน -- วิทยานิพนธ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี -- วิทยานิพนธ์ -- พ.ศ. 2551 | การอ่าน -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) -- วิทยานิพนธ์DDC classification: วพ 372.4 ช133ก Dissertation note: วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2551 Summary: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยวิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ และ 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับ การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ กับวิธีสอนแบบปกติ แบบแผนการวิจัยเป็นแบบการทดสอบก่อน เรียนและหลังเรียนในกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลอง จำนวน 31 คน ได้รับการสอนแบบสืบเสาะ หาความรู้ และกลุ่มควบคุม จำนวน 31 คน ได้รับการสอนแบบปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีผลการวิจัย พบว่า 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนกลุ่มทดลองที่ได้รับการเรียนแบบ สืบเสาะหาความรู้ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.1 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนกลุ่มทดลองที่ได้รับการเรียนแบบ สืบเสาะหาความรู้ สูงกว่ากลุ่มควบคุมที่เรียนด้วยการสอนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Collection Call number Copy number Status Date due Barcode
Thesis/Research Thesis/Research PBRU Library
บรรณราชฯ ชั้น 5
วิทยานิพนธ์ มรภ.เพชรบุรี ชั้น 5 วพ 372.4 ช133ก (Browse shelf(Opens below)) 1 Available 1000169785
Thesis/Research Thesis/Research PBRU Library
บรรณราชฯ ชั้น 5
วิทยานิพนธ์ มรภ.เพชรบุรี ชั้น 5 วพ 372.4 ช133ก (Browse shelf(Opens below)) 2 Available 1000169786
Browsing PBRU Library shelves, Shelving location: บรรณราชฯ ชั้น 5, Collection: วิทยานิพนธ์ มรภ.เพชรบุรี ชั้น 5 Close shelf browser (Hides shelf browser)
วพ 372.35 อ793ย 2557 ยุทธศาสตร์การถอดหลักวิชางานสกุลช่างเมืองเพชรเพื่อพัฒนาการคิดเชิงวิทยาศาสตร์และการเห็นคุณค่าในอัตลักษณ์ท้องถิ่นของนักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็ก : ดุษฎีนิพนธ์ = วพ 372.4 ก181ก การเปรียบเทียบผลการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีสอนแบบ SQ4R กับวิธีสอนแบบปกติในการอ่านภาษาไทยเพื่อความเข้าใจ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบางสะพานวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 : วิทยานิพนธ์ = | A Comparison of instruction the SQ4R strategy and regular teaching method on thai reading comprehension thai,s department of mathayom 1 students bangsaphanwittaya school prachaupkhirikhan educational service area 1 / วพ 372.4 ก181ก การเปรียบเทียบผลการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีสอนแบบ SQ4R กับวิธีสอนแบบปกติในการอ่านภาษาไทยเพื่อความเข้าใจ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบางสะพานวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 : วิทยานิพนธ์ = | A Comparison of instruction the SQ4R strategy and regular teaching method on thai reading comprehension thai,s department of mathayom 1 students bangsaphanwittaya school prachaupkhirikhan educational service area 1 / วพ 372.4 ช133ก การเปรียบเทียบความเข้าใจในการอ่าน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่สอนแบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค เอส ที เอ ดี กับการสอนแบบปกติ โรงเรียนบ้านวังน้ำเขียว อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ : วิทยานิพนธ์ = | A comparison of reading comprehension of pratomsuksa 4 students with a stad techniques cooperative learning and regular method in wangnumkeaw school bangsaphan district Prachuap Khiri Khan province / วพ 372.4 ช133ก การเปรียบเทียบความเข้าใจในการอ่าน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่สอนแบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค เอส ที เอ ดี กับการสอนแบบปกติ โรงเรียนบ้านวังน้ำเขียว อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ : วิทยานิพนธ์ = | A comparison of reading comprehension of pratomsuksa 4 students with a stad techniques cooperative learning and regular method in wangnumkeaw school bangsaphan district Prachuap Khiri Khan province / วพ 372.4 ช213ผ ผลของแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการตั้งคำถาม ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ด้านการอ่านจับใจความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่3สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเพชรบุรีเขต2 : ภาคนิพนธ์ = | The effect of teaching plan using questioning technique on reading comprehension of the grade three students in the phetchaburi educational area 2 / วพ 372.4 ช213ผ ผลของแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการตั้งคำถาม ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ด้านการอ่านจับใจความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่3สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเพชรบุรีเขต2 : ภาคนิพนธ์ = | The effect of teaching plan using questioning technique on reading comprehension of the grade three students in the phetchaburi educational area 2 /

วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2551

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยวิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ และ 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับ การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ กับวิธีสอนแบบปกติ แบบแผนการวิจัยเป็นแบบการทดสอบก่อน เรียนและหลังเรียนในกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลอง จำนวน 31 คน ได้รับการสอนแบบสืบเสาะ หาความรู้ และกลุ่มควบคุม จำนวน 31 คน ได้รับการสอนแบบปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีผลการวิจัย พบว่า 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนกลุ่มทดลองที่ได้รับการเรียนแบบ สืบเสาะหาความรู้ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.1 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนกลุ่มทดลองที่ได้รับการเรียนแบบ สืบเสาะหาความรู้ สูงกว่ากลุ่มควบคุมที่เรียนด้วยการสอนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01

บริจาค

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Office of Academic Resources and Information Technology
    38 Moo. 8, Nawung Sub-District, Muang Phetchaburi District, Phetchaburi 76000 Thailand
    Tel: (032) 708609 Fax: (032) 708656 Email: library_office@mail.pbru.ac.th