Image from Google Jackets

การพัฒนาตัวบ่งชี้การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ของพนักงานธนาคารภาคตะวันตกของประเทศไทย : ดุษฎีนิพนธ์ = Development of information technology management indicators for learning organization of bank employees in the western region of thailand / สุนันทา ภักดีโยธิน

By: Material type: TextTextPublication details: เพชรบุรี : สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2553Description: (11),206 แผ่น ; 30 ซม. + ซีดีรอม 1 แผ่นOther title:
  • Development of information technology management indicators for learning organization of bank employees in the western region of thailand
Subject(s): DDC classification:
  • วพ 658.403 ส816ก
Online resources: Dissertation note: ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2554 Summary: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์และพัฒนาตัวบ่งชี้การจัดการเทคโนโลยี สารสนเทศในการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ของพนักงานธนาคารภาคตะวันตกของประเทศไทย และเพื่อวิเคราะห์และประเมินการยอมรับการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ของพนักงานธนาคารที่มี ต่อตัวชี้วัดเพื่อการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ เครื่องมือวิจัยที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็น แบบสอบถามมี 3 ชุด กลุ่มตัวอย่างคือ พนักงานธนาคารภาคตะวันตกของประเทศไทย จำนวน 327 คน โดยการสุ่มอย่างอย่างง่าย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ตัวบ่งชี้การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้วยสถิติการถดถอยพหุ และการจัดสัมมนา กลุ่มย่อย ผลการวิจัยพบว่า 1. การวิเคราะห์การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้ปัจจัยองค์ประกอบ จำนวน 48 ปัจจัย ที่มีความสอดคล้องกัน ผลการพัฒนาตัวบ่งชี้ โดยการวิเคราะห์องค์ประกอบการจัดการเทคโนโลยี สารสนเทศ พบว่า ปัจจัยองค์ประกอบด้านความรู้ ด้านทักษะ และด้านเจตคติมีความสัมพันธ์กับ การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ 1.00 และสามารถพยากรณ์ได้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ผลการวิเคราะห์ การยอมรับ ตัวบ่งชี้การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ พบว่า พนักงานธนาคารภาคตะวันตกของประเทศไทย ยอมรับตัวบ่งชี้การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2. ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเพื่อพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ มีปัจจัยองค์ประกอบ ด้านระดับปัจเจกบุคคล ด้านระดับทีมและกลุ่ม ด้านระดับองค์กร และด้านการวัดผลขององค์กร มี ความสัมพันธ์กับการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ ทุกด้านอยู่ในระดับมาก 3. ผลการประเมินการยอมรับเพื่อการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ มีปัจจัยองค์ประกอบ ด้านคุณลักษณะเด่น ด้านความเป็นผู้นำขององค์กร ด้านการบริหารงานลูกจ้าง ด้านการประสานหรือ ผูกพันต่อองค์กร ด้านการเน้นกลยุทธ์ ด้านมาตรการความสำเร็จ โดยรวมทุกด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า พนักงานธนาคาร ยอมรับการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ ทุกด้าน อยู่ในระดับมาก
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Collection Call number Copy number Status Date due Barcode
Thesis/Research Thesis/Research PBRU Library บรรณราชฯ ชั้น 5 วิทยานิพนธ์ มรภ.เพชรบุรี ชั้น 5 วพ 658.403 ส816ก (Browse shelf(Opens below)) 2 Available 1000171028
Thesis/Research Thesis/Research PBRU Library บรรณราชฯ ชั้น 5 วิทยานิพนธ์ มรภ.เพชรบุรี ชั้น 5 วพ 658.403 ส816ก (Browse shelf(Opens below)) 1 Available 1000171027

ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2554

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์และพัฒนาตัวบ่งชี้การจัดการเทคโนโลยี
สารสนเทศในการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ของพนักงานธนาคารภาคตะวันตกของประเทศไทย
และเพื่อวิเคราะห์และประเมินการยอมรับการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ของพนักงานธนาคารที่มี
ต่อตัวชี้วัดเพื่อการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ เครื่องมือวิจัยที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็น
แบบสอบถามมี 3 ชุด กลุ่มตัวอย่างคือ พนักงานธนาคารภาคตะวันตกของประเทศไทย จำนวน 327
คน โดยการสุ่มอย่างอย่างง่าย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
และวิเคราะห์ตัวบ่งชี้การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้วยสถิติการถดถอยพหุ และการจัดสัมมนา
กลุ่มย่อย
ผลการวิจัยพบว่า
1. การวิเคราะห์การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้ปัจจัยองค์ประกอบ จำนวน 48 ปัจจัย
ที่มีความสอดคล้องกัน ผลการพัฒนาตัวบ่งชี้ โดยการวิเคราะห์องค์ประกอบการจัดการเทคโนโลยี
สารสนเทศ พบว่า ปัจจัยองค์ประกอบด้านความรู้ ด้านทักษะ และด้านเจตคติมีความสัมพันธ์กับ
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์
1.00 และสามารถพยากรณ์ได้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ผลการวิเคราะห์ การยอมรับ
ตัวบ่งชี้การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ พบว่า พนักงานธนาคารภาคตะวันตกของประเทศไทย
ยอมรับตัวบ่งชี้การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก
2. ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเพื่อพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ มีปัจจัยองค์ประกอบ
ด้านระดับปัจเจกบุคคล ด้านระดับทีมและกลุ่ม ด้านระดับองค์กร และด้านการวัดผลขององค์กร มี
ความสัมพันธ์กับการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ ทุกด้านอยู่ในระดับมาก
3. ผลการประเมินการยอมรับเพื่อการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ มีปัจจัยองค์ประกอบ
ด้านคุณลักษณะเด่น ด้านความเป็นผู้นำขององค์กร ด้านการบริหารงานลูกจ้าง ด้านการประสานหรือ
ผูกพันต่อองค์กร ด้านการเน้นกลยุทธ์ ด้านมาตรการความสำเร็จ โดยรวมทุกด้านอยู่ในระดับมาก
เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า พนักงานธนาคาร ยอมรับการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ ทุกด้าน
อยู่ในระดับมาก

There are no comments on this title.

to post a comment.


Office of Academic Resources and Information Technology
      38 Moo. 8, Nawung Sub-District, Muang Phetchaburi District, Phetchaburi 76000 Thailand
    Tel: (032) 708609 Fax: (032) 708656 Email: library_office@mail.pbru.ac.th