การวิจัยและพัฒนาแหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะอาชีพ ของนักเรียนโรงเรียนบ้านยางน้ำกลัดใต้ สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 : วิทยานิพนธ์ = Research and development of sufficient economy's learning source to improve the career skill of students at Banyangnamkladtai school Phetchaburi educational service area office 1 / พยุงศักดิ์ นิลประดับ

By: พยุงศักดิ์ นิลประดับCall number: วพ 371.42 พ221ก 2564 Material type: BookBookPublisher: เพชรบุรี : สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2564Description: 428 แผ่น : ภาพประกอบ ; 30 ซม. + ซีดีรอม 1 แผ่นOther title: Research and development of sufficient economy's learning source to improve the career skill of students at Banyangnamkladtai school Phetchaburi educational service area office 1 [Other title]Subject(s): มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. สาขาการบริหารหารศึกษา -- วิทยานิพนธ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี -- วิทยานิพนธ์ -- 2564 | โรงเรียนบ้ายางน้ำกลัดใต้ -- วิทยานิพนธ์ | เศรษฐกิจพอเพียง -- วิทยานิพนธ์ | การแนะแนวอาชีพ -- วิทยานิพนธ์Genre/Form: แหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง | การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ | การพัฒนาหลักสูตร | ทักษะอาชีพDDC classification: วพ 371.42 พ221ก 2564 Online resources: cover | abstract | acknowledgement | content | chapter1 | chapter2 | chapter3 | chapter4 | chapter5 | bibliography | appendix Dissertation note: วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2564 Summary: การศึกษาในปัจจุบันให้ความส้าคัญกับกระบวนการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดทักษะอาชีพ ที่สอดคล้องในศตวรรษที่ 21 การจัดการเรียนรู้โดยใช้แหล่งเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงภายในโรงเรียน เป็นอีกหนึ่งกระบวนการที่จะส่งผลให้ผู้เรียนเกิดทักษะดังกล่าว ดังนั้นผู้วิจัยจึงมีความสนใจวิจัยเรื่องนี้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพของแหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงโรงเรียนบ้านยางน้้ากลัดใต้ 2) พัฒนาแหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพของนักเรียนโรงเรียนบ้านยางน้้ากลัดใต้ และ 3) พัฒนาหลักสูตรแหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพของนักเรียนโรงเรียนบ้านยางน้้ากลัดใต้ วิธีการด้าเนินการวิจัย 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ศึกษาและส้ารวจความต้องการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ 2) พัฒนาแหล่งเรียนรู้ 3) พัฒนาหลักสูตร 4) ทดลองใช้หลักสูตร 5) ประเมินหลักสูตร กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้อ้านวยการ คณะครู และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ตอนต้น โรงเรียนบ้านยางน้้ากลัดใต้ สังกัดส้านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 ปีการศึกษา 2563 จ้านวน41 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) หลักสูตร มีค่าความสอดคล้องอยู่ระหว่าง 0.80-1.00 2) แบบประเมินทักษะอาชีพ มีค่าความสอดคล้องอยู่ระหว่าง 0.80-1.00 และ 3) แบบประเมินหลักสูตร มีค่าความ สอดคล้องอยู่ระหว่าง 0.80-1.00 สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ ข้อมูลเชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพของแหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงโรงเรียนบ้านยางน้้ากลัดใต้มีแหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจ พอเพียง จ้านวน 3 แหล่งเรียนรู้ คือ การเลี้ยงไก่ไข่ การปลูกผักประหยัดพื้นที่ และ การเพาะเห็ด ซึ่งเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีมานาน ไม่พร้อมใช้งาน สภาพช้ารุด ขาดการซ่อมแซม ไม่ทันสมัย และไม่มีสื่อการเรียนรู้เพียงพอ 2. การพัฒนาแหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง พบว่า แหล่งเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีความพร้อม มีคุณภาพ มีสื่อการเรียนรู้ ทันสมัย ใช้ในการจัดการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพได้ จำนวน 3 แหล่งเรียนรู้ คือ แหล่งเรียนรู้การเลี้ยงไก่ไข่ แหล่งเรียนรู้การปลูกผักประหยัดพื้นที่ และแหล่งเรียนรู้การเพาะเห็ด 3. หลักสูตรแหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพของนักเรียนโรงเรียนบ้านยางน้้า กลัดใต้ ประกอบด้วย โครงสร้างหลักสูตร ผลการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ จ้านวน 3 รายวิชา คือ การเลี้ยงไก่ไข่ การ ปลูกผักประหยัดพื้นที่ และวิชาการเพาะเห็ด นักเรียนที่ผ่านการเรียนรู้ตามหลักสูตรมีทักษะอาชีพอยู่ในระดับดี การ ประเมินหลักสูตร พบว่า หลักสูตรมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ในการจัดการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้เกิดทักษะ อาชีพ ตอบสนองการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ข้อค้นพบจากการวิจัยครั้งนี้ คือ การพัฒนาแหล่งเรียนรู้และหลักสูตรเศรษฐกิจพอเพียงให้ประสบความสำเร็จ ผู้บริหาร คณะครู คณะกรรมการสถานศึกษาฯ และ ผู้ปกครอง ควรส่งเสริมการใช้แหล่งเรียนรู้และหลักสูตรเศรษฐกิจพอเพียงอย่างต่อเนื่อง และน้าไปใช้ในระดับชั้นอื่น ๆ เพื่อให้นักเรียนเกิดการพัฒนาทักษะอาชีพ
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Collection Call number Copy number Status Date due Barcode
Thesis/Research Thesis/Research PBRU Library
บรรณราชฯ ชั้น 5
วิทยานิพนธ์ ชั้น 5 วพ 371.42 พ221ก 2564 (Browse shelf(Opens below)) 1 Available 1000209723
Thesis/Research Thesis/Research PBRU Library
บรรณราชฯ ชั้น 5
วิทยานิพนธ์ ชั้น 5 วพ 371.42 พ221ก 2564 (Browse shelf(Opens below)) 2 Available 1000209724
Browsing PBRU Library shelves, Shelving location: บรรณราชฯ ชั้น 5, Collection: วิทยานิพนธ์ ชั้น 5 Close shelf browser (Hides shelf browser)
วพ 371.393 พ878ก 2563 กลยุทธ์การขับเคลื่อนและการพัฒนาทักษะการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนกลุ่มโรงเรียนเครือข่ายบ้านโป่ง 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรีเขต 2 : วิทยานิพนธ์ = | Strategies to drive and develop problem-solving skills of students at Ban Pong network school 2, under the office of Ratchaburi primary educational service area 2. / วพ 371.395 บ795ก การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง อุษาคเนย์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค TGT กับการเรียนรู้ด้วยวิธีปกติ : วิทยานิพนธ์ = | A comparison of learning achievement in southeast Asia of matthayomsuksa one taught by TGT technique and the conventionel method / วพ 371.42 พ221ก 2564 การวิจัยและพัฒนาแหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะอาชีพ ของนักเรียนโรงเรียนบ้านยางน้ำกลัดใต้ สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 : วิทยานิพนธ์ = | Research and development of sufficient economy's learning source to improve the career skill of students at Banyangnamkladtai school Phetchaburi educational service area office 1 / วพ 371.42 พ221ก 2564 การวิจัยและพัฒนาแหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะอาชีพ ของนักเรียนโรงเรียนบ้านยางน้ำกลัดใต้ สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 : วิทยานิพนธ์ = | Research and development of sufficient economy's learning source to improve the career skill of students at Banyangnamkladtai school Phetchaburi educational service area office 1 / วพ 371.425 ก384น 2564 แนวทางการบริหารสถานศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพของนักเรียน โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 20 จังหวัดชุมพร : วิทยานิพนธ์ = | School administration guidelines for developing career skills of students at rajaprachanukroh 20 school, Chumphon province. / วพ 371.425 ก384น 2564 แนวทางการบริหารสถานศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพของนักเรียน โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 20 จังหวัดชุมพร : วิทยานิพนธ์ = | School administration guidelines for developing career skills of students at rajaprachanukroh 20 school, Chumphon province. / วพ 371.425 ป279ก 2564 กลยุทธ์การขับเคลื่อนและการพัฒนาทักษะอาชีพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนเทพสุวรรณชาญวิทยา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรสาคร สมุทรสงคราม : วิทยานิพนธ์ = | Strategies for driving and developing career skills of high school students Thepsuwanchanwittaya School under the Samutsakhon Samutsongkhram secondary education service area office. /

วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2564

การศึกษาในปัจจุบันให้ความส้าคัญกับกระบวนการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดทักษะอาชีพ ที่สอดคล้องในศตวรรษที่ 21 การจัดการเรียนรู้โดยใช้แหล่งเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงภายในโรงเรียน เป็นอีกหนึ่งกระบวนการที่จะส่งผลให้ผู้เรียนเกิดทักษะดังกล่าว ดังนั้นผู้วิจัยจึงมีความสนใจวิจัยเรื่องนี้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพของแหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงโรงเรียนบ้านยางน้้ากลัดใต้ 2) พัฒนาแหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพของนักเรียนโรงเรียนบ้านยางน้้ากลัดใต้ และ 3) พัฒนาหลักสูตรแหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพของนักเรียนโรงเรียนบ้านยางน้้ากลัดใต้ วิธีการด้าเนินการวิจัย
5 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ศึกษาและส้ารวจความต้องการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ 2) พัฒนาแหล่งเรียนรู้ 3) พัฒนาหลักสูตร
4) ทดลองใช้หลักสูตร 5) ประเมินหลักสูตร กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้อ้านวยการ คณะครู และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ตอนต้น โรงเรียนบ้านยางน้้ากลัดใต้ สังกัดส้านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 ปีการศึกษา
2563 จ้านวน41 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) หลักสูตร มีค่าความสอดคล้องอยู่ระหว่าง 0.80-1.00
2) แบบประเมินทักษะอาชีพ มีค่าความสอดคล้องอยู่ระหว่าง 0.80-1.00 และ 3) แบบประเมินหลักสูตร มีค่าความ
สอดคล้องอยู่ระหว่าง 0.80-1.00 สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์
ข้อมูลเชิงเนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า
1. สภาพของแหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงโรงเรียนบ้านยางน้้ากลัดใต้มีแหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจ
พอเพียง จ้านวน 3 แหล่งเรียนรู้ คือ การเลี้ยงไก่ไข่ การปลูกผักประหยัดพื้นที่ และ การเพาะเห็ด ซึ่งเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีมานาน ไม่พร้อมใช้งาน สภาพช้ารุด ขาดการซ่อมแซม ไม่ทันสมัย และไม่มีสื่อการเรียนรู้เพียงพอ
2. การพัฒนาแหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง พบว่า แหล่งเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
มีความพร้อม มีคุณภาพ มีสื่อการเรียนรู้ ทันสมัย ใช้ในการจัดการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพได้ จำนวน 3 แหล่งเรียนรู้ คือ แหล่งเรียนรู้การเลี้ยงไก่ไข่ แหล่งเรียนรู้การปลูกผักประหยัดพื้นที่ และแหล่งเรียนรู้การเพาะเห็ด
3. หลักสูตรแหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพของนักเรียนโรงเรียนบ้านยางน้้า
กลัดใต้ ประกอบด้วย โครงสร้างหลักสูตร ผลการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ จ้านวน 3 รายวิชา คือ การเลี้ยงไก่ไข่ การ
ปลูกผักประหยัดพื้นที่ และวิชาการเพาะเห็ด นักเรียนที่ผ่านการเรียนรู้ตามหลักสูตรมีทักษะอาชีพอยู่ในระดับดี การ
ประเมินหลักสูตร พบว่า หลักสูตรมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ในการจัดการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้เกิดทักษะ
อาชีพ ตอบสนองการศึกษาในศตวรรษที่ 21
ข้อค้นพบจากการวิจัยครั้งนี้ คือ การพัฒนาแหล่งเรียนรู้และหลักสูตรเศรษฐกิจพอเพียงให้ประสบความสำเร็จ
ผู้บริหาร คณะครู คณะกรรมการสถานศึกษาฯ และ ผู้ปกครอง ควรส่งเสริมการใช้แหล่งเรียนรู้และหลักสูตรเศรษฐกิจพอเพียงอย่างต่อเนื่อง และน้าไปใช้ในระดับชั้นอื่น ๆ เพื่อให้นักเรียนเกิดการพัฒนาทักษะอาชีพ

บริจาค

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Office of Academic Resources and Information Technology
    38 Moo. 8, Nawung Sub-District, Muang Phetchaburi District, Phetchaburi 76000 Thailand
    Tel: (032) 708609 Fax: (032) 708656 Email: library_office@mail.pbru.ac.th