การมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของครูในการพัฒนาเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาของศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดประจวบคีรีขันธ : วิทยานิพนธ์ = Participation in Educational Management of Teachers in Developing Children with Intellectual Disability at Prachuap Khiri Khan Special Education Center. / กุมารี สัตย์ธัญญากุล

By: กุมารี สัตย์ธัญญากุลCall number: วพ 371.928 ก721ก 2565 Material type: BookBookPublisher: เพชรบุรี : สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2565Description: 211 แผ่น : ภาพประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม. + ซีดีรอม 1 แผ่นOther title: Participation in Educational Management of Teachers in Developing Children with Intellectual Disability at Prachuap Khiri Khan Special Education CenterSubject(s): มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. -- วิทยานิพนธ์ -- 2565 | มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา -- วิทยานิพนธ์ | เด็กพิการ -- การศึกษา -- วิทยานิพนธ์ | ครูสอนเด็กพิเศษ -- วิทยานิพนธ์Genre/Form: เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา | การใช้ภาษา | การคิดรวบยอดDDC classification: วพ 371.928 ก721ก 2565 Online resources: Fulltext Dissertation note: วิทยานิพนธ์(ค.ม.)—มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2565 Summary: การมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของครูจึงมีความสำคัญในการพัฒนาเด็กที่มีความบกพร่องทาง สติปัญญา เนื่องจากครูผู้สอนเป็นผู้ดูแลเด็กอย่างใกล้ชิด ซึ่งจะทราบปัญหาการเรียนรู้ของเด็กมากที่สุดได้วัตถุประสงค์ ของการวิจัยในครั้งนี้เพื่อศึกษา 1) การมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของครูในการพัฒนาเด็กที่มีความบกพร่องทาง สติปัญญาของศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และ 2) ผลการพัฒนาเด็กที่มีความบกพร่องทาง สติปัญญาของศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ คือ ครูที่ดูแล เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา จำนวน 7 คน ได้จากการเลือกแบบเจาะจง และเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา ช่วงอายุ 10-13 ปี ที่มีระดับพัฒนาการ 3 ปี 6 เดือน และระดับสติปัญญา (IQ) 75 ของศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 8 คน ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการสอนรายบุคคล แบบประเมินพัฒนาการด้านสติปัญญา 2 ชุด จำนวน 10 ข้อ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ และการสนทนากลุ่ม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบทีและการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. การมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของครูในการพัฒนาเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาของ ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มี 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การมีส่วนร่วมในการคิด ศึกษา ค้นคว้า พบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยผู้วิจัยและครูร่วมกันสนทนากลุ่มและตอบแบบสัมภาษณ์ ได้องค์ความรู้เกี่ยวกับเทคนิค การสอน วิธีการวัดประเมิน องค์ความรู้ในการจัดทำแผนการสอนรายบุคคล การพัฒนาด้านสติปัญญาความสามารถการใช้ ภาษา และความสามารถการคิดรวบยอด 2) การมีส่วนร่วมในการวางแผน นโยบาย กิจกรรม พบว่าครูมีส่วนร่วมอยู่ใน ระดับมาก โดยครูได้เข้าประชุมสนทนากลุ่ม ได้แผนการสอนรายบุคคล จำนวน 16 แผน เป็นแผนการสอนพัฒนาด้าน การใช้ภาษา จำนวน 8 แผน และด้านการคิดรวบยอด จำนวน 8 แผน 3) ขั้นตอนการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ และปฏิบัติ พบว่าครูมีส่วนร่วมอยู่ในระดับมาก ครูและผู้วิจัยได้ทำการสอนตามองค์ประกอบของแผนการสอนรายบุคคลสำหรับเด็กที่ มีความบกพร่องทางสติปัญญาของศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 4) ขั้นตอนการมีส่วนร่วมในการควบคุม ติดตาม และประเมินผล พบว่า ครูได้นำแผนการสอนกิจกรรมการสอนและ ผลการวิจัย มาทำการประเมินผลการพัฒนามีส่วนร่วมในนิเทศภายใน และวัดผลประเมินผลมีส่วนร่วม โดยภาพรวมอยู่ใน ระดับมาก 2. ผลการพัฒนาความสามารถการใช้ภาษา และความสามารถการคิดรวบยอด เด็กที่มีความบกพร่องทาง สติปัญญา หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ข้อค้นพบจากการวิจัยคือกระบวนการมีส่วนร่วมมีความสำคัญต่อการจัดการเรียนการสอนของเด็กที่มี ความบกพร่องทางสติปัญญา โดยใช้การสอนตามแผนการสอนรายบุคคลที่กำหนดร่วมกัน ดังนั้นครูผู้สอนควรให้ ความสำคัญในการมีส่วนร่วมการจัดการศึกษาเพื่อร่วมกันระดมความคิด เสนอปัญหา เสนอการแก้ปัญหา และนำมา ปฏิบัติการร่วมกันภายในสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Collection Call number Copy number Status Date due Barcode
Thesis/Research Thesis/Research PBRU Library
บรรณราชฯ ชั้น 5
วิทยานิพนธ์ มรภ.เพชรบุรี ชั้น 5 วพ 371.928 ก721ก 2565 (Browse shelf(Opens below)) 1 Available 1000218058
Thesis/Research Thesis/Research PBRU Library
บรรณราชฯ ชั้น 5
วิทยานิพนธ์ มรภ.เพชรบุรี ชั้น 5 วพ 371.928 ก721ก 2565 (Browse shelf(Opens below)) 2 Available 1000218065
Browsing PBRU Library shelves, Shelving location: บรรณราชฯ ชั้น 5, Collection: วิทยานิพนธ์ มรภ.เพชรบุรี ชั้น 5 Close shelf browser (Hides shelf browser)
วพ 371.9 อ629ป 2560 ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้เรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ : วิทยานิพนธ์ = | Factors affecting behavior of students in schools under special education bureau / วพ 371.9 อ629ป 2560 ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้เรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ : วิทยานิพนธ์ = | Factors affecting behavior of students in schools under special education bureau / วพ 371.928 ก721ก 2565 การมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของครูในการพัฒนาเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาของศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดประจวบคีรีขันธ : วิทยานิพนธ์ = | Participation in Educational Management of Teachers in Developing Children with Intellectual Disability at Prachuap Khiri Khan Special Education Center. / วพ 371.928 ก721ก 2565 การมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของครูในการพัฒนาเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาของศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดประจวบคีรีขันธ : วิทยานิพนธ์ = | Participation in Educational Management of Teachers in Developing Children with Intellectual Disability at Prachuap Khiri Khan Special Education Center. / วพ 372.1 ก974ย ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการเครือข่ายทุนในพื้นที่เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของนักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็ก : ดุษฎีนิพนธ์ = | The Strategy of local asset network management for improving life quality of students in small schools / วพ 372.1 ก974ย ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการเครือข่ายทุนในพื้นที่เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของนักเรียนในโรงเรียนขนาดเล็ก : ดุษฎีนิพนธ์ = | The Strategy of local asset network management for improving life quality of students in small schools / วพ 372.1 ช678ก กระบวนการพัฒนาการประกันคุณภาพการศึกษาภายในโรงเรียนที่รับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่สอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเพชรบุรี เขต 1 และ เขต 2 = | The Process of Internal Quality Assurance Development in Schools for the Second External Quality Assessment under the Office of Phetchaburi Educational Service Area 1 and Area 2 /

วิทยานิพนธ์(ค.ม.)—มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2565

การมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของครูจึงมีความสำคัญในการพัฒนาเด็กที่มีความบกพร่องทาง
สติปัญญา เนื่องจากครูผู้สอนเป็นผู้ดูแลเด็กอย่างใกล้ชิด ซึ่งจะทราบปัญหาการเรียนรู้ของเด็กมากที่สุดได้วัตถุประสงค์
ของการวิจัยในครั้งนี้เพื่อศึกษา 1) การมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของครูในการพัฒนาเด็กที่มีความบกพร่องทาง
สติปัญญาของศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และ 2) ผลการพัฒนาเด็กที่มีความบกพร่องทาง
สติปัญญาของศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ คือ ครูที่ดูแล
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา จำนวน 7 คน ได้จากการเลือกแบบเจาะจง และเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา ช่วงอายุ 10-13 ปี ที่มีระดับพัฒนาการ 3 ปี 6 เดือน และระดับสติปัญญา (IQ) 75
ของศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 8 คน ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการสอนรายบุคคล แบบประเมินพัฒนาการด้านสติปัญญา 2 ชุด จำนวน 10 ข้อ
แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ และการสนทนากลุ่ม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ คือ ค่าเฉลี่ย
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบทีและการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า
1. การมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของครูในการพัฒนาเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาของ
ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มี 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การมีส่วนร่วมในการคิด ศึกษา ค้นคว้า พบว่า
โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยผู้วิจัยและครูร่วมกันสนทนากลุ่มและตอบแบบสัมภาษณ์ ได้องค์ความรู้เกี่ยวกับเทคนิค
การสอน วิธีการวัดประเมิน องค์ความรู้ในการจัดทำแผนการสอนรายบุคคล การพัฒนาด้านสติปัญญาความสามารถการใช้
ภาษา และความสามารถการคิดรวบยอด 2) การมีส่วนร่วมในการวางแผน นโยบาย กิจกรรม พบว่าครูมีส่วนร่วมอยู่ใน
ระดับมาก โดยครูได้เข้าประชุมสนทนากลุ่ม ได้แผนการสอนรายบุคคล จำนวน 16 แผน เป็นแผนการสอนพัฒนาด้าน
การใช้ภาษา จำนวน 8 แผน และด้านการคิดรวบยอด จำนวน 8 แผน 3) ขั้นตอนการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ และปฏิบัติ
พบว่าครูมีส่วนร่วมอยู่ในระดับมาก ครูและผู้วิจัยได้ทำการสอนตามองค์ประกอบของแผนการสอนรายบุคคลสำหรับเด็กที่
มีความบกพร่องทางสติปัญญาของศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ
0.05 4) ขั้นตอนการมีส่วนร่วมในการควบคุม ติดตาม และประเมินผล พบว่า ครูได้นำแผนการสอนกิจกรรมการสอนและ
ผลการวิจัย มาทำการประเมินผลการพัฒนามีส่วนร่วมในนิเทศภายใน และวัดผลประเมินผลมีส่วนร่วม โดยภาพรวมอยู่ใน
ระดับมาก
2. ผลการพัฒนาความสามารถการใช้ภาษา และความสามารถการคิดรวบยอด เด็กที่มีความบกพร่องทาง
สติปัญญา หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ข้อค้นพบจากการวิจัยคือกระบวนการมีส่วนร่วมมีความสำคัญต่อการจัดการเรียนการสอนของเด็กที่มี
ความบกพร่องทางสติปัญญา โดยใช้การสอนตามแผนการสอนรายบุคคลที่กำหนดร่วมกัน ดังนั้นครูผู้สอนควรให้
ความสำคัญในการมีส่วนร่วมการจัดการศึกษาเพื่อร่วมกันระดมความคิด เสนอปัญหา เสนอการแก้ปัญหา และนำมา
ปฏิบัติการร่วมกันภายในสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ

บริจาค

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Office of Academic Resources and Information Technology
    38 Moo. 8, Nawung Sub-District, Muang Phetchaburi District, Phetchaburi 76000 Thailand
    Tel: (032) 708609 Fax: (032) 708656 Email: library_office@mail.pbru.ac.th