000 07375nam a2200457 a 4500
001 vtls000064994
003 MTX
008 110722s2009 th a 000 0 tha d
039 9 _a201306272137
_bVLOAD
_c28294
_dstu05 library
_c201206061145
_dVLOAD
_c201110040937
_dsu
040 _aPBRU
082 0 4 _aวพ 384
_bพ111ก
100 0 _aพงศกร ปกป้อง
_994141
245 1 0 _aการหาประสิทธิภาพและความพึงพอใจระบบติดตามและควบคุมสภาพการทำงานอุปกรณ์โทรคมนาคมระยะไกลของบริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) :
_b= The efficiency investigation and satisfaction on remote supervisory equipment for unmanned telecom station, CAT telecom public company limited /
_cพงศกร ปกป้อง
246 3 1 _aThe efficiency investigation and satisfaction on remote supervisory equipment for unmanned telecom station, CAT telecom public company limited
260 _aเพชรบุรี :
_bสาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี,
_c2552
300 _a93 แผ่น :
_bภาพประกอบ ;
_c30 ซม.
502 _aวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2552
520 _aการวิจัยครั้งนี้มุ่งหาประสิทธิภาพและความพึงพอใจในการใช้งาน ระบบติดตามและ ควบคุมสภาพการทำงานอุปกรณ์โทรคมนาคมระยะไกล ของบริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ เจ้าหน้าที่ระบบเครือข่ายฯและข่ายสายตอน นอก ผู้จัดการสำนักงานฯ แยกเป็นเจ้าหน้าที่ 25 คนผู้จัดการ 5 คน รวม 30 คน เลือกสถานีที่ ทดสอบจํานวน 5 สถานีจากจำนวนทั้งสิ้น 20 สถานี เป็นการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัยเป็นแบบสอบถาม 1 ชุด แบ่งออกเป็น 4 ตอน ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับสถานภาพ ของพนักงาน ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลด้านประสิทธิภาพของระบบ 5 ด้าน คือ ด้านการตอบสนองความต้องการของผู้ใช้, ด้านความถูกต้องการทำงานของระบบ, ด้านประโยชน์ การใช้งานของระบบ, ด้านการติดตั้งระบบและด้านความปลอดภัยของระบบ ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะ และความคิดเห็นในการพัฒนาระบบ ตอนที่ 4 แบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฯ และข้อเสนอแนะ ผลการวิจัยพบว่า 1. ประสิทธิภาพในการทำงานของระบบติดตามและควบคุมสภาพการทำงานอุปกรณ์ โทรคมนาคมระยะไกล 5 ด้าน มีประสิทธิภาพดีมากคือ ด้านประโยชน์การใช้งานระบบ ส่วนด้าน การตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ ด้านความถูกต้องการทำงานของระบบ ด้านการติดตั้งระบบ และด้านความปลอดภัยของระบบอยู่ในระดับดี 2. ความพึงพอใจในการใช้งานระบบติดตามและควบคุมสภาพการทำงานอุปกรณ์ โทรคมนาคมระยะไกลอยู่ในระดับมาก การตรวจซ่อมวงจรขัดข้องทำได้รวดเร็วขึ้น สามารถตรวจ ซ่อมวงจรได้มีประสิทธิภาพดีขึ้น และเห็นสมควรให้ผู้วิจัยพัฒนาระบบดังกล่าวนี้เพื่อให้มี ความสมบรูณ์เพิ่มขึ้น และนำมาให้บริการกับอุปกรณ์โทรคมนาคมตามสถานีต่างฯต่อไป
610 2 4 _aมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.
_bสาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
_xวิทยานิพนธ์
_982051
610 2 4 _aมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
_xวิทยานิพนธ์
_yพ.ศ. 2552
_990871
650 4 _aโทรคมนาคม
_xวิทยานิพนธ์
_994142
650 4 _aการสื่อสาร
_xวิทยานิพนธ์
_970184
650 4 _aอุตสาหกรรมสื่อสารโทรคมนาคม
_xวิทยานิพนธ์
_994143
910 _a201107G
942 _c5
_2ddc
999 _c61816
_d61816
856 _uhttps://book.pbru.ac.th/multim/thesis/61816/61816_cover.pdf
_3cover
856 _uhttps://book.pbru.ac.th/multim/thesis/61816/61816_abstract.pdf
_3abstract
856 _uhttps://book.pbru.ac.th/multim/thesis/61816/61816_acknowledgement.pdf
_3acknowledgement
856 _uhttps://book.pbru.ac.th/multim/thesis/61816/61816_content.pdf
_3content
856 _uhttps://book.pbru.ac.th/multim/thesis/61816/61816_chapter1.pdf
_3chapter1
856 _uhttps://book.pbru.ac.th/multim/thesis/61816/61816_chapter2.pdf
_3chapter2
856 _uhttps://book.pbru.ac.th/multim/thesis/61816/61816_chapter3.pdf
_3chapter3
856 _uhttps://book.pbru.ac.th/multim/thesis/61816/61816_chapter4.pdf
_3chapter4
856 _uhttps://book.pbru.ac.th/multim/thesis/61816/61816_chapter5.pdf
_3chapter5
856 _uhttps://book.pbru.ac.th/multim/thesis/61816/61816_bibliography.pdf
_3bibliography
856 _uhttps://book.pbru.ac.th/multim/thesis/61816/61816_appendix.pdf
_3appendix
942 _c11