000 07090nam a2200445 a 4500
001 vtls000069918
003 MTX
008 130109s2011 th a 000 0dtha d
039 9 _a201507161633
_bVLOAD
_c28292
_dstu03 library
_c201306272329
_dVLOAD
_c201301141005
_dsu
040 _aPBRU
082 0 4 _aวพ 613
_bส722ร
100 0 _aสิทธิ์ชัย ชูจีน
_9101592
245 1 0 _aแรงจูงใจในการทำหน้าที่ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน : วิทยานิพนธ์ =
_bThe village health volunteers motive toward their work /
_cสิทธิ์ชัย ชูจีน
246 3 1 _aThe village health volunteers motive toward their work
260 _aเพชรบุรี :
_bสาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี,
_c2554
300 _a(9), 79 แผ่น :
_bภาพประกอบ ;
_c30 ซม. +
_eซีดีรอม 1 แผ่น
502 _aวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2554
520 _aการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับแรงจูงใจของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน 2) ศึกษาการทำหน้าที่ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและ 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจกับการทำหน้าที่ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน กลุ่มตัวอย่างเป็นอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เขตรับผิดชอบสถานีอนามัยตำบลหงส์เจริญ อำเภอท่าแซะจังหวัดชุมพร จำนวน 108 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 2 แบบ ได้แก่แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา การทดสอบสมมติฐานใช้ สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1. โดยภาพรวม พบว่าอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน มีแรงจูงใจระดับสูงและในรายด้านพบว่าด้านแรงจูงใจด้านการรับการนิเทศงานและการฝึกอบรม สิทธิประโยชน์ที่ได้รับความภาคภูมิใจ การยอมรับตนเองและยอมรับผู้อื่น และภาวะเศรษฐกิจและสังคม มีแรงจูงใจในระดับสูงตามลำดับ 2. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน มีการทำหน้าที่ระดับปานกลางในภาพรวมและพบว่าการเป็นผู้สื่อข่าวสารสาธารณสุขมีการทำหน้าที่ในระดับมากการเป็นผู้ให้คำแนะนำถ่ายทอดความรู้ การเป็นแกนนำพัฒนางานสาธารณสุขชุมชน และการเฝ้าระวังและป้องกันปัญหาสาธารณสุขในหมู่บ้าน ทำหน้าที่ในระดับปานกลาง และการเป็นผู้ให้บริการสาธารณสุข ทำหน้าที่ในระดับน้อย 3. ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจกับการทำหน้าที่โดยรวมของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เขตรับผิดชอบสถานีอนามัยตำบลหงษ์เจริญมีความสัมพันธ์ระดับสูงในทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
610 2 4 _aมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.
_bสาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์
_xวิทยานิพนธ์
_998786
610 2 4 _aมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
_xวิทยานิพนธ์
_yพ.ศ. 2554
_995657
650 4 _aอาสาสมัครสาธารณสุข
_xวิทยานิพนธ์
_9101593
650 4 _aบุคลากรสาธารณสุข
_xวิทยานิพนธ์
_9101456
910 _a201301G
942 _c5
_01
_2ddc
999 _c66614
_d66614
856 _3cover
_uhttps://book.pbru.ac.th/multim/thesis/66614/66614_cover.pdf
856 _3abstract
_uhttps://book.pbru.ac.th/multim/thesis/66614/66614_abstract.pdf
856 _3acknowledgement
_uhttps://book.pbru.ac.th/multim/thesis/66614/66614_acknowledgement.pdf
856 _3content
_uhttps://book.pbru.ac.th/multim/thesis/66614/66614_content.pdf
856 _3chapter1
_uhttps://book.pbru.ac.th/multim/thesis/66614/66614_chapter1.pdf
856 _3chapter2
_uhttps://book.pbru.ac.th/multim/thesis/66614/66614_chapter2.pdf
856 _3chapter3
_uhttps://book.pbru.ac.th/multim/thesis/66614/66614_chapter3.pdf
856 _3chapter4
_uhttps://book.pbru.ac.th/multim/thesis/66614/66614_chapter4.pdf
856 _3chapter5
_uhttps://book.pbru.ac.th/multim/thesis/66614/66614_chapter5.pdf
856 _3bibliography
_uhttps://book.pbru.ac.th/multim/thesis/66614/66614_bibliography.pdf
856 _3appendix
_uhttps://book.pbru.ac.th/multim/thesis/66614/66614_appendix.pdf
942 _c11