000 08084nam a22003017a 4500
008 180717s2022 th a|||| |||| 000 0 tha d
039 _a7972
_bพีรวัฒน์ เพ่งผุดผ่อง
_c7972
_dพีรวัฒน์ เพ่งผุดผ่อง
040 _aPBRU
082 0 4 _aวพ 371.102
_bก727ร 2565
100 0 _aกุลรตี ทับทิมทอง
245 1 0 _aรูปแบบการพัฒนาครูเพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษของนักเรียนโดยใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ โรงเรียนทับสะแกวิทยา จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ : วิทยานิพนธ์ =
_bTeacher Development Model To Improve Student’s English Communication Skills Using Professional Learning Community, Thapsakaewitthaya School, Prachuap Khiri khan Province. /
_cกุลรตี ทับทิมทอง
246 3 1 _aTeacher Development Model To Improve Student’s English Communication Skills Using Professional Learning Community, Thapsakaewitthaya School, Prachuap Khiri khan Province.
260 _aเพชรบุรี :
_bสาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี,
_c2565
300 _a210 แผ่น :
_bภาพประกอบ ;
_c30 ซม. + ซีดีรอม 1 แผ่น
502 _aวิทยานิพนธ์(ค.ม.)—มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2565
520 _aภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากลที่มีความสำคัญและความจำเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากคนทั่วโลก นิยมใช้ในการติดต่อสื่อสาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปัจจุบันซึ่งเป็นโลกแห่งยุคสังคมข่าวสาร โดยการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา 1) รูปแบบการพัฒนาครูเพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษของนักเรียน โดยใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ 2) ผลการใช้รูปแบบการพัฒนาครูเพื่อพัฒนาทักษะ การสื่อสารภาษาอังกฤษของนักเรียนโดยใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ โดยใช้การวิจัยเชิง ปฏิบัติการ กลุ่มเป้าหมายในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ครู จำนวน 4 คน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 โรงเรียนทับสะแกวิทยา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 178 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ 1) คู่มือการใช้รูปแบบการพัฒนาครูเพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษของนักเรียนโดยใช้ กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ และ 2) แบบประเมินทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ สถิติที่ใช้ ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีแบบจับคู่ ผลการวิจัยพบว่า 1. รูปแบบการพัฒนาครูเพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษของนักเรียนโดยใช้ กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ โรงเรียนทับสะแกวิทยา จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) การวางแผน 2) การดำเนินการ 3) การประสานเสริมพลัง 4) การนิเทศติดตาม และ 5) การสะท้อนผล ผลการประเมินรูปแบบพบว่าโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅ = 4.75, S.D. = 0.35) 2. การศึกษาผลการใช้รูปแบบการพัฒนาครูเพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษของ นักเรียน โดยใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ พบว่า นักเรียนมีทักษะด้านการสื่อสาร ภาษาอังกฤษ และมีระดับคะแนนทางทักษะด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ ความก้าวหน้า เท่ากับ 44.38 ข้อค้นพบจากการวิจัย พบว่า รูปแบบการพัฒนาครูเพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ ของนักเรียนโดยใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ทำให้ครูสามารถสอนนักเรียนให้ใช้ ภาษาอังกฤษได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นผู้บริหารโรงเรียนควรพัฒนาครูและส่งเสริมให้ครูพัฒนาทักษะ การสื่อสารภาษาอังกฤษของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง
541 _aบริจาค
610 2 4 _aมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
_xวิทยานิพนธ์
_y2565
610 2 4 _aมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
_bสาขาวิชาการบริหารการศึกษา
_xวิทยานิพนธ์
_977623
650 4 _aครู
_xการพัฒนา
_xภาษาอังกฤษ
_xวิทยานิพนธ์
650 4 _aภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
_xวิทยานิพนธ์
655 4 _aทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ
655 4 _aรูปแบบการพัฒนาครู
856 4 _3Fulltext
_uhttp://book.pbru.ac.th/multim/thesis/92754/92754.pdf
910 _a202312
942 _2ddc
_c5
999 _c92754
_d92754
942 _c11