รายงานการวิจัย เรื่อง พัฒนาการของการศึกษาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ ระดับบัณฑิตศึกษาในประเทศไทย / ชุติมา สัจจานันท์

By: ชุติมา สัจจานันท์Call number: 020.711 ช617พ Material type: BookBookPublisher: นนทบุรี : สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ?2541Description: 156 หน้าISBN: 9746124897Other title: พัฒนาการของการศึกษาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ ระดับบัณฑิตศึกษาในประเทศไทย [Portion of title]Subject(s): บรรณารักษศาสตร์ -- ไทย -- วิจัย | บรรณารักษศาสตร์ -- หลักสูตร -- วิจัย | สารสนเทศศาสตร์ -- หลักสูตร -- วิจัยDDC classification: 020.711 ช617พ Summary: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาการและสถานภาพการศึกษาวิชาบรรณารักษ์และสารนิเทศศาสตร์ ระดับบัณฑิตศึกษาของสถาบันการศึกษา 8 แห่ง ในประเทศไทย ใช้วิธีการรวบรวมข้อมูลจากการค้นคว้าจากเอกสาร การสัมภาษณ์และแบบสำรวจ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. การศึกษาวิชาบรรณษรักษ์และสารนิเทศศาสตร์ระดับบัณฑิตศึกษาในประเทศไทยเริ่มเปิดสอนครั้งแรกที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเมื่อ พ.ศ. 2507 ต่อจากนั้นการจัดการศึกษาก็ได้ขยายเปิดสอนในสถาบันอื่น ๆ คือ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (พ.ศ. 2508) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (พ.ศ. 2525) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (พ.ศ. 2529) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี (พ.ศ. 2531) มหาวิทยาลัยรามคำแหง (พ.ศ. 2535) มหาวิทยาลัยขอนแก่น (พ.ศ. 2537) และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้รับอนุมัติหลักสูตรแล้วเมื่อ พ.ศ. 2537 2. ปัจจัยที่มีบทบาทและผลกระทบต่อพัฒนาการศึกษาวิชาบรรณารักษ์ศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ระดับบัณฑิตศึกษาในประเทศไทย ได้แก่ ความช่วยเหลือจากต่างประเทศ โดยเฉพาะมูลนิธิฟุลไบร์ทของสหรัฐอเมริกา วิสัยทัศน์ของผู้บริหาร มาตราฐานการศึกษาวิชาบรรณารักษ์ศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ แผนพัฒนาประเทศ นโยบายของรัฐและระเบียบที่เกี่ยวข้อง ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารนิเทศ การก้าวหน้าเข้าสู่สังคมสารนิเทศและตลาดงานSummary: (ต่อ) 3. พัฒนาการศึกษาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ระดับบัณฑิตศึกษา มีบทบาทสำคัญและผลกระทบในด้านความเข้มแข็งทางวิชาการ การวิจัย มาตรฐานวิชาชีพ ภาพลักษณ์และสถานภาพของผู้ประกอบวิชาชีพ 4. สถาบันทุกแห่งมีโครงสร้างการบริหารงานและการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาใกล้เคึยงกันและเปิดสอนเฉพาะระดับปริญญาโท วัตถุประสงค์ของหลักสูตรเพื่อสร้างผู้นำทางวิชาชีพ ผู้บริหาร นักวิชาการระดับสูง มีโครงสร้างของหลักสูตร และจำนวนหน่วยกิตใกล้เคียงกัน ระหว่าง 36-48 หน่วยกิต 5. สถาบันทุกแห่งมีความพร้อมด้านอาจารย์ สถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ห้องสมุด อุปกรณ์การเรียนการสอน และผลงานพิมพ์ทางวิชาการ สถาบัน 4 แห่ง จัดพิมพ์วารสารวิชาการทางบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ โดยมี "วารสารบรรณารักษศาสตร์" ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นวารสารเก่าแก่ที่สุดในกลุ่มนี้
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Collection Call number Copy number Status Date due Barcode
Thesis/Research Thesis/Research PBRU Library
บรรณราชฯ ชั้น 5
งานวิจัย ชั้น 5 020.711 ช617พ (Browse shelf(Opens below)) 1 Available 1000038388
Browsing PBRU Library shelves, Shelving location: บรรณราชฯ ชั้น 5, Collection: งานวิจัย ชั้น 5 Close shelf browser (Hides shelf browser)
020 ฐ351ก การพัฒนาระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ของสินค้า หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์จากตาลโตนด จังหวัดเพชรบุรี พ.ศ. 2548 = 020 ฐ351ก การพัฒนาระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ของสินค้า หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์จากตาลโตนด จังหวัดเพชรบุรี พ.ศ. 2548 = 020 อ835ง รายงานการวิจัย เรื่อง การสำรวจและจัดทำบรรณนิทัศน์สิ่งพิมพ์ทางนิเทศศาสตร์ในประเทศไทยระหว่าง พ.ศ. 2526-2532 / 020.711 ช617พ รายงานการวิจัย เรื่อง พัฒนาการของการศึกษาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ ระดับบัณฑิตศึกษาในประเทศไทย / 020.92 ช617รก รายงานการวิจัยเรื่อง การสร้างเสริมจรรยาบรรณวิชาชีพแก่นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ = | Enhancing Professionals ethics for graduate students majoring in library and information science / 020.92 ส657ก รายงานวิจัย เรื่อง การติดตามผลการปฏิบัติงานของบรรณารักษ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวที่ผ่านการอบรมทางวิชาการ สาขาวิชาบรรณารักษ์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โครงการในพระบรมราชูปถัมภ์ของ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี / 021.2 จ638บ รายงานการวิจัย เรื่อง บทบาทของระบบสารนิเทศทางวิชาการแห่งชาติที่มีผลต่อการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น จังหวัดกาญจนบุรี /

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาการและสถานภาพการศึกษาวิชาบรรณารักษ์และสารนิเทศศาสตร์ ระดับบัณฑิตศึกษาของสถาบันการศึกษา 8 แห่ง ในประเทศไทย ใช้วิธีการรวบรวมข้อมูลจากการค้นคว้าจากเอกสาร การสัมภาษณ์และแบบสำรวจ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. การศึกษาวิชาบรรณษรักษ์และสารนิเทศศาสตร์ระดับบัณฑิตศึกษาในประเทศไทยเริ่มเปิดสอนครั้งแรกที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเมื่อ พ.ศ. 2507 ต่อจากนั้นการจัดการศึกษาก็ได้ขยายเปิดสอนในสถาบันอื่น ๆ คือ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (พ.ศ. 2508) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (พ.ศ. 2525) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (พ.ศ. 2529) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี (พ.ศ. 2531) มหาวิทยาลัยรามคำแหง (พ.ศ. 2535) มหาวิทยาลัยขอนแก่น (พ.ศ. 2537) และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้รับอนุมัติหลักสูตรแล้วเมื่อ พ.ศ. 2537 2. ปัจจัยที่มีบทบาทและผลกระทบต่อพัฒนาการศึกษาวิชาบรรณารักษ์ศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ระดับบัณฑิตศึกษาในประเทศไทย ได้แก่ ความช่วยเหลือจากต่างประเทศ โดยเฉพาะมูลนิธิฟุลไบร์ทของสหรัฐอเมริกา วิสัยทัศน์ของผู้บริหาร มาตราฐานการศึกษาวิชาบรรณารักษ์ศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ แผนพัฒนาประเทศ นโยบายของรัฐและระเบียบที่เกี่ยวข้อง ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารนิเทศ การก้าวหน้าเข้าสู่สังคมสารนิเทศและตลาดงาน

(ต่อ) 3. พัฒนาการศึกษาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ระดับบัณฑิตศึกษา มีบทบาทสำคัญและผลกระทบในด้านความเข้มแข็งทางวิชาการ การวิจัย มาตรฐานวิชาชีพ ภาพลักษณ์และสถานภาพของผู้ประกอบวิชาชีพ 4. สถาบันทุกแห่งมีโครงสร้างการบริหารงานและการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาใกล้เคึยงกันและเปิดสอนเฉพาะระดับปริญญาโท วัตถุประสงค์ของหลักสูตรเพื่อสร้างผู้นำทางวิชาชีพ ผู้บริหาร นักวิชาการระดับสูง มีโครงสร้างของหลักสูตร และจำนวนหน่วยกิตใกล้เคียงกัน ระหว่าง 36-48 หน่วยกิต 5. สถาบันทุกแห่งมีความพร้อมด้านอาจารย์ สถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ห้องสมุด อุปกรณ์การเรียนการสอน และผลงานพิมพ์ทางวิชาการ สถาบัน 4 แห่ง จัดพิมพ์วารสารวิชาการทางบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ โดยมี "วารสารบรรณารักษศาสตร์" ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นวารสารเก่าแก่ที่สุดในกลุ่มนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Office of Academic Resources and Information Technology
    38 Moo. 8, Nawung Sub-District, Muang Phetchaburi District, Phetchaburi 76000 Thailand
    Tel: (032) 708609 Fax: (032) 708656 Email: library_office@mail.pbru.ac.th