ผลของการใช้ชุดฝึกนิสัยรักความสะอาดที่มีต่อพฤติกรรมการรักษาความสะอาดของเด็กปฐมวัยชั้นปีที่ 1 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลตำบลสำรอง อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี : วิทยานิพนธ์ = The effects of cleanliness habit training package on the cleanliness behaviors of the first year preschoolers at the child development center of tambon samrong municipality, tamuang district, Kanjanaburi province / เสาวณี กุลทอง

By: เสาวณี กุลทองCall number: วพ 372.21 ส941ผ Material type: BookBookPublisher: เพชรบุรี : สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2553Description: (9), 148 หน้า ; 30 ซม. + ซีดี-รอม 1 แผ่นOther title: The Effects of cleanliness habit training package on the cleanliness behaviors of the first year preschoolers at the child development center of tambon samrong municipality, tamuang district, Kanjanaburi province [Cover title]Subject(s): มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย -- วิทยานิพนธ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี -- วิทยานิพนธ์ -- พ.ศ. 2553 | ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลสำรอง -- กาญจนบุรี -- ท่าม่วง -- ความสะอาด -- วิทยานิพนธ์ | การศึกษาปฐมวัย -- วิทยานิพนธ์DDC classification: วพ 372.21 ส941ผ Online resources: Fulltext Dissertation note: วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2553 Summary: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการรักษาความสะอาดของเด็กปฐมวัย ชั้นปีที่ 1 ก่อนและหลังการใช้ชุดฝึกนิสัยรักความสะอาด และเพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรม การรักษาความสะอาดของเด็กปฐมวัยชั้นปีที่ 1 ระหว่างเพศชายและหญิงหลังการฝึกนิสัย รักความสะอาด กลุ่มตัวอย่างคือ เด็กปฐมวัยชั้นปีที่ 1 อายุ 3-4 ขวบ จำนวน 22 คน แยกออกเป็น เพศชาย 13 คน และเพศหญิง 9 คน ซึ่งได้จากการสุ่มอย่างง่ายจากประชากรทั้งหมดจำนวน 3 ห้องเรียน ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลตำบลสำรอง อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ ชุดฝึกนิสัยรักความสะอาดสำหรับเด็กปฐมวัยชั้นปีที่ 1 จำนวน 24 กิจกรรม เพื่อใช้ในการทดลอง 8 สัปดาห์ ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552 และแบบสังเกต พฤติกรรมการรักษาความสะอาดของเด็กปฐมวัย ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้น การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การหา ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที แบบกลุ่มที่ไม่เป็นอิสระแก่กัน และการวิเคราะห์ ความแปรปรวนร่วม ผลการวิจัยพบว่า 1.เด็กปฐมวัยชั้นปีที่ 1 ที่ได้รับการฝึกโดยใช้ชุดฝึกนิสัยรักความสะอาดมีพฤติกรรม การรักษาความสะอาดดีขึ้นกว่าก่อนการฝึกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 2. เด็กปฐมวัยชั้นปีที่ 1 เพศชายและเพศหญิงที่ได้รับการฝึกโดยใช้ชุดฝึกนิสัย รักความสะอาดมีพฤติกรรมการรักษาความสะอาดหลังการทดลองแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 โดยเพศหญิงมีค่าเฉลี่ยพฤติกรรมการรักษาความสะอาดสูงกว่าเพศชาย
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Collection Call number Copy number Status Date due Barcode
Thesis/Research Thesis/Research PBRU Library
บรรณราชฯ ชั้น 5
วิทยานิพนธ์ มรภ.เพชรบุรี ชั้น 5 วพ 372.21 ส941ผ (Browse shelf(Opens below)) 1 Available 1000166600
Thesis/Research Thesis/Research PBRU Library
บรรณราชฯ ชั้น 5
วิทยานิพนธ์ มรภ.เพชรบุรี ชั้น 5 วพ 372.21 ส941ผ (Browse shelf(Opens below)) 2 Available 1000166601

วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2553

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการรักษาความสะอาดของเด็กปฐมวัย ชั้นปีที่ 1 ก่อนและหลังการใช้ชุดฝึกนิสัยรักความสะอาด และเพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรม การรักษาความสะอาดของเด็กปฐมวัยชั้นปีที่ 1 ระหว่างเพศชายและหญิงหลังการฝึกนิสัย รักความสะอาด กลุ่มตัวอย่างคือ เด็กปฐมวัยชั้นปีที่ 1 อายุ 3-4 ขวบ จำนวน 22 คน แยกออกเป็น เพศชาย 13 คน และเพศหญิง 9 คน ซึ่งได้จากการสุ่มอย่างง่ายจากประชากรทั้งหมดจำนวน 3 ห้องเรียน ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลตำบลสำรอง อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ ชุดฝึกนิสัยรักความสะอาดสำหรับเด็กปฐมวัยชั้นปีที่ 1 จำนวน 24 กิจกรรม เพื่อใช้ในการทดลอง 8 สัปดาห์ ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552 และแบบสังเกต พฤติกรรมการรักษาความสะอาดของเด็กปฐมวัย ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้น การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การหา ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที แบบกลุ่มที่ไม่เป็นอิสระแก่กัน และการวิเคราะห์ ความแปรปรวนร่วม ผลการวิจัยพบว่า 1.เด็กปฐมวัยชั้นปีที่ 1 ที่ได้รับการฝึกโดยใช้ชุดฝึกนิสัยรักความสะอาดมีพฤติกรรม การรักษาความสะอาดดีขึ้นกว่าก่อนการฝึกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 2. เด็กปฐมวัยชั้นปีที่ 1 เพศชายและเพศหญิงที่ได้รับการฝึกโดยใช้ชุดฝึกนิสัย รักความสะอาดมีพฤติกรรมการรักษาความสะอาดหลังการทดลองแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 โดยเพศหญิงมีค่าเฉลี่ยพฤติกรรมการรักษาความสะอาดสูงกว่าเพศชาย

บริจาค ; 21/03/2011

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Office of Academic Resources and Information Technology
    38 Moo. 8, Nawung Sub-District, Muang Phetchaburi District, Phetchaburi 76000 Thailand
    Tel: (032) 708609 Fax: (032) 708656 Email: library_office@mail.pbru.ac.th