การบริหารสถานศึกษาแบบอย่างการจัดกระบวนการเรียนการสอนและการบริหารจัดการ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 : วิทยานิพนธ์ = The administration ofthe model school in instruction process and management on sufficency economy principle of schools under Phetchaburi primary educational service area office 1 / เปรมฤทัย พงษ์พันธุ์

By: เปรมฤทัย พงษ์พันธุ์Call number: วพ 372.1 ป719ก Material type: BookBookPublisher: เพชรบุรี : สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2555Description: (10), 205 แผ่น : ภาพประกอบ ; 30 ซม. + ซีดีรอม 1 แผ่นOther title: The administration ofthe model school in instruction process and management on sufficency economy principle of schools under Phetchaburi primary educational service area office 1 [Cover title]Subject(s): มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา -- วิทยานิพนธ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี -- วิทยานิพนธ์ -- พ.ศ. 2555 | การศึกษา -- การบริหาร (ประถมศึกษา) | การบริหารการศึกษา -- วิทยานิพนธ์ | การศึกษา -- การบริหาร -- วิทยานิพนธ์DDC classification: วพ 372.1 ป719ก Online resources: Fulltext Dissertation note: วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2555 Summary: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การบริหารสถานศึกษาแบบอย่างตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ 2) การจัดกระบวนการเรียนการสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต1 โดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ การดำเนินการวิจัยมี 4 ขั้นตอน คือ1) วิจัยเอกสาร 2) สร้างและหาคุณภาพเครื่องมือ 3) วิจัยภาคสนาม และ 4) การวิเคราะห์ข้อมูลกลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ ผู้บริหารสถานศึกษาครูผู้สอน ประธานกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และนักเรียน รวมทั้งสิ้น 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์ และแบบบันทึกข้อมูลภาคสนาม การวิเคราะห์ ข้อมูลใช้ การสังเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารสถานศึกษาแบบอย่างตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของสถานศึกษาใช้แบบการบูรณาการไปในกระบวนการบริ หารสถานศึกษา 3 ขั้นตอน คือ 1) กำหนดนโยบายการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยกำหนดไว้ในวิสัยทัศน์ของสถานศึกษา 2) จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และ 3) ขับเคลื่อนแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาผ่านโครงสร้างการบริหาร 4 งาน คืองานบริหารวิชาการงานบริหารทั่วไป งานงบประมาณและงานบริหารบุคลากร 2. การจัดกระบวนการเรียนการสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของสถานศึกษามีการจัดทำหลักสูตรและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 2 ลักษณะ คือ 1) จัดทำหน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้โดยสอดแทรกปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และ 2) จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน แบ่งเป็น 3 กิจกรรม คือ (1) กิจกรรมแนะแนวและระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (2) กิจกรรมนักเรียน โดยบูรณาการในกิจกรรมลูกเสือเนตรนารี ผู้บำเพ็ญประโยชน์และกิจกรรมชุมนุมต่าง ๆ และ (3) กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ข้อค้นพบจากการวิจัยครั้งนี้ คือการบริหารสถานศึกษาแบบอย่างให้ประสบความสำเร็จผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนต้องมีความตระหนัก มีความรู้ ความเข้าใจ และความมุ่งมั่นในการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบริหารจัดการสถานศึกษา และการจัดกระบวนการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนการปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างของนักเรียน
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Collection Call number Copy number Status Date due Barcode
Thesis/Research Thesis/Research PBRU Library
บรรณราชฯ ชั้น 5
วิทยานิพนธ์ มรภ.เพชรบุรี ชั้น 5 วพ 372.1 ป719ก (Browse shelf(Opens below)) 1 Available 1000170566
Thesis/Research Thesis/Research PBRU Library
บรรณราชฯ ชั้น 5
วิทยานิพนธ์ มรภ.เพชรบุรี ชั้น 5 วพ 372.1 ป719ก (Browse shelf(Opens below)) 2 Available 1000170567
Browsing PBRU Library shelves, Shelving location: บรรณราชฯ ชั้น 5, Collection: วิทยานิพนธ์ มรภ.เพชรบุรี ชั้น 5 Close shelf browser (Hides shelf browser)
วพ 372.1 น488ก 2558 การมีส่วนร่วมของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียในการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนโรงเรียนชุมชนประชานิคม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชุมพร เขต 1 : วิทยานิพนธ์ = วพ 372.1 บ543ค ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลกับประสิทธิผลการบริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมึกษาเพชรบุรี เขต 2 : วิทยานิพนธ์ = | Relationship between good governancce and the administrational effectiveness of scools under Phetchaburi primary educational service area office 2 / วพ 372.1 บ543ค ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลกับประสิทธิผลการบริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมึกษาเพชรบุรี เขต 2 : วิทยานิพนธ์ = | Relationship between good governancce and the administrational effectiveness of scools under Phetchaburi primary educational service area office 2 / วพ 372.1 ป719ก การบริหารสถานศึกษาแบบอย่างการจัดกระบวนการเรียนการสอนและการบริหารจัดการ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 : วิทยานิพนธ์ = | The administration ofthe model school in instruction process and management on sufficency economy principle of schools under Phetchaburi primary educational service area office 1 / วพ 372.1 ป719ก การบริหารสถานศึกษาแบบอย่างการจัดกระบวนการเรียนการสอนและการบริหารจัดการ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 : วิทยานิพนธ์ = | The administration ofthe model school in instruction process and management on sufficency economy principle of schools under Phetchaburi primary educational service area office 1 / วพ 372.1 พ385ค 2557 ความสัมพันธ์ระหว่างการดำเนินกิจกรรมตามบทบาทหน้าที่ของบ้าน วัด โรงเรียนกับคุณลักษณะผู้เรียนตามหลักไตรสิกขาของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 : วิทยานิพนธ์ = | The relationship between the implementation of activities according to the roles of homes, temples, schools and charcteristics of the learners in accordance with threefold training in schools under phetchaburi primary educational service area office 1 / วพ 372.1 พ385ค 2557 ความสัมพันธ์ระหว่างการดำเนินกิจกรรมตามบทบาทหน้าที่ของบ้าน วัด โรงเรียนกับคุณลักษณะผู้เรียนตามหลักไตรสิกขาของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 : วิทยานิพนธ์ = | The relationship between the implementation of activities according to the roles of homes, temples, schools and charcteristics of the learners in accordance with threefold training in schools under phetchaburi primary educational service area office 1 /

วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2555

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การบริหารสถานศึกษาแบบอย่างตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ 2) การจัดกระบวนการเรียนการสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต1 โดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ การดำเนินการวิจัยมี 4 ขั้นตอน คือ1) วิจัยเอกสาร 2) สร้างและหาคุณภาพเครื่องมือ 3) วิจัยภาคสนาม และ 4) การวิเคราะห์ข้อมูลกลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ ผู้บริหารสถานศึกษาครูผู้สอน ประธานกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และนักเรียน รวมทั้งสิ้น 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์ และแบบบันทึกข้อมูลภาคสนาม การวิเคราะห์ ข้อมูลใช้
การสังเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า
1. การบริหารสถานศึกษาแบบอย่างตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของสถานศึกษาใช้แบบการบูรณาการไปในกระบวนการบริ หารสถานศึกษา 3 ขั้นตอน คือ 1) กำหนดนโยบายการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยกำหนดไว้ในวิสัยทัศน์ของสถานศึกษา
2) จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และ 3) ขับเคลื่อนแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาผ่านโครงสร้างการบริหาร 4 งาน คืองานบริหารวิชาการงานบริหารทั่วไป งานงบประมาณและงานบริหารบุคลากร
2. การจัดกระบวนการเรียนการสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของสถานศึกษามีการจัดทำหลักสูตรและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 2 ลักษณะ คือ 1) จัดทำหน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้โดยสอดแทรกปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
และ 2) จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน แบ่งเป็น 3 กิจกรรม คือ (1) กิจกรรมแนะแนวและระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (2) กิจกรรมนักเรียน โดยบูรณาการในกิจกรรมลูกเสือเนตรนารี ผู้บำเพ็ญประโยชน์และกิจกรรมชุมนุมต่าง ๆ และ (3) กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
ข้อค้นพบจากการวิจัยครั้งนี้ คือการบริหารสถานศึกษาแบบอย่างให้ประสบความสำเร็จผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนต้องมีความตระหนัก มีความรู้ ความเข้าใจ และความมุ่งมั่นในการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบริหารจัดการสถานศึกษา และการจัดกระบวนการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนการปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างของนักเรียน

บริจาค ; 02/11/2012

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Office of Academic Resources and Information Technology
    38 Moo. 8, Nawung Sub-District, Muang Phetchaburi District, Phetchaburi 76000 Thailand
    Tel: (032) 708609 Fax: (032) 708656 Email: library_office@mail.pbru.ac.th