Image from Google Jackets

ความรู้ ความเชื่อ กับพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองในตำบลพะโต๊ะ อำเภอพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร : วิทยานิพนธ์ = Knowledge, belief, and behavior on breast self-examination : a case study of patho subdistrict, patho district,Chumphon province / นภาวรรณ นนทสุวรรณ์

By: Material type: TextTextPublication details: เพชรบุรี: สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2555Description: (10) 95 แผ่น : ภาพประกอบ ; 30 ซม. + ซีดี-รอม 1 แผ่นOther title:
  • Knowledge, belief, and behavior on breast self-examination : a case study of patho subdistrict, patho district,Chumphon province
Subject(s): DDC classification:
  • วพ 613.0434 น199ค
Online resources: Dissertation note: วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2555 Summary: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ1) ศึกษาความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านม ความเชื่อ ด้านสุขภาพเกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมและการตรวจเต้านมด้วยตนเอง 2) ศึกษาพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเอง และ 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อด้านสุขภาพเกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมและการตรวจเต้านมด้วยตนเองกับพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองในตำบลพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร กลุ่มตัวอย่าง คือ สตรีอายุ 35-60 ปี ในตำบลพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร จำนวน 308 คน ได้มาจากการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถามความรู้ ความเชื่อ กับพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองของสตรี วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบความสัมพันธ์ด้วยค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1. สตรีส่วนใหญ่มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมและการตรวจเต้านมด้วยตนเองอยู่ในระดับปานกลาง และมีความเชื่อด้านสุขภาพเกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมและการตรวจเต้านมด้วยตนเองโดยรวมอยู่ในระดับมาก ได้แก่ การรับรู้ประโยชน์ของการตรวจเต้านมด้วยตนเองรองลงมาคือ การรับรู้ โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งเต้านม และการรับรู้อุปสรรคของการตรวจเต้านมด้วยตนเอง 2. พฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเอง โดยรวมอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านวิธีการตรวจมะเร็งเต้านม รองลงมา คือ ด้านความถี่ในการตรวจมะเร็งเต้านม และด้านช่วงเวลาในการตรวจมะเร็งเต้านม 3. ความสัมพันธ์ความเชื่อด้านสุขภาพเกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมการตรวจเต้านมด้วยตนเองกับพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองในตำบลพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร โดยรวมมีความสัมพันธ์กันในทิศทางบวกอยู่ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ข้อค้นพบจากการวิจัยพบว่า สตรีควรปรับความเชื่อของตนเองว่าการตรวจเต้านมด้วยตนเองและควรมีการตรวจเต้านมด้วยตนเองเพื่อการลดความเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็งเต้านมและค้นหาความผิดปกติของเต้านมในระยะเริ่มแรกและรักษาได้
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Collection Call number Copy number Status Date due Barcode
Thesis/Research Thesis/Research PBRU Library บรรณราชฯ ชั้น 5 วิทยานิพนธ์ มรภ.เพชรบุรี ชั้น 5 วพ 613.0434 น199ค (Browse shelf(Opens below)) 2 Available 1000170648
Thesis/Research Thesis/Research PBRU Library บรรณราชฯ ชั้น 5 วิทยานิพนธ์ มรภ.เพชรบุรี ชั้น 5 วพ 613.0434 น199ค (Browse shelf(Opens below)) 1 Available 1000170647
Browsing PBRU Library shelves, Shelving location: บรรณราชฯ ชั้น 5, Collection: วิทยานิพนธ์ มรภ.เพชรบุรี ชั้น 5 Close shelf browser (Hides shelf browser)
No cover image available No cover image available
No cover image available No cover image available
No cover image available No cover image available
No cover image available No cover image available
No cover image available No cover image available
No cover image available No cover image available
No cover image available No cover image available
วพ 613.04 จ231ก 2563 การพัฒนารูปแบบการเพิ่มสมรรถภาพร่างกายกำลังพลกองทัพบกไทยในศตวรรษที่ 21 : วิทยานิพนธ์ = | Development of model of improving physical fitness of personnel in the Royal Thai Army in the 21st century. / วพ 613.0432 ป198ป ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะน้ำหนักตัวของทารกแรกเกิดต่ำกว่าเกณฑ์มาตราฐาน : วิทยานิพนธ์ = | Related factors of low birth weight infant / วพ 613.0432 ป198ป ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะน้ำหนักตัวของทารกแรกเกิดต่ำกว่าเกณฑ์มาตราฐาน : วิทยานิพนธ์ = | Related factors of low birth weight infant / วพ 613.0434 น199ค ความรู้ ความเชื่อ กับพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองในตำบลพะโต๊ะ อำเภอพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร : วิทยานิพนธ์ = | Knowledge, belief, and behavior on breast self-examination : a case study of patho subdistrict, patho district,Chumphon province / วพ 613.0434 น199ค ความรู้ ความเชื่อ กับพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองในตำบลพะโต๊ะ อำเภอพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร : วิทยานิพนธ์ = | Knowledge, belief, and behavior on breast self-examination : a case study of patho subdistrict, patho district,Chumphon province / วพ 613.0434 พ894ร แรงจูงใจในการตรวจเต้านมด้วยตนเองของสตรี อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร : วิทยานิพนธ์ = | Motivation of seal-breast examination of women in mueang district of Chumphon province / วพ 613.0434 พ894ร แรงจูงใจในการตรวจเต้านมด้วยตนเองของสตรี อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร : วิทยานิพนธ์ = | Motivation of seal-breast examination of women in mueang district of Chumphon province /

วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2555

บริจาค ; 18/12/55

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ1) ศึกษาความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านม ความเชื่อ ด้านสุขภาพเกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมและการตรวจเต้านมด้วยตนเอง 2) ศึกษาพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเอง และ 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อด้านสุขภาพเกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมและการตรวจเต้านมด้วยตนเองกับพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองในตำบลพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร กลุ่มตัวอย่าง คือ สตรีอายุ 35-60 ปี ในตำบลพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร จำนวน 308 คน ได้มาจากการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถามความรู้ ความเชื่อ กับพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองของสตรี วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบความสัมพันธ์ด้วยค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน
ผลการวิจัยพบว่า
1. สตรีส่วนใหญ่มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมและการตรวจเต้านมด้วยตนเองอยู่ในระดับปานกลาง และมีความเชื่อด้านสุขภาพเกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมและการตรวจเต้านมด้วยตนเองโดยรวมอยู่ในระดับมาก ได้แก่ การรับรู้ประโยชน์ของการตรวจเต้านมด้วยตนเองรองลงมาคือ การรับรู้
โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งเต้านม และการรับรู้อุปสรรคของการตรวจเต้านมด้วยตนเอง
2. พฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเอง โดยรวมอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านวิธีการตรวจมะเร็งเต้านม รองลงมา คือ ด้านความถี่ในการตรวจมะเร็งเต้านม และด้านช่วงเวลาในการตรวจมะเร็งเต้านม
3. ความสัมพันธ์ความเชื่อด้านสุขภาพเกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมการตรวจเต้านมด้วยตนเองกับพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองในตำบลพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร โดยรวมมีความสัมพันธ์กันในทิศทางบวกอยู่ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ข้อค้นพบจากการวิจัยพบว่า สตรีควรปรับความเชื่อของตนเองว่าการตรวจเต้านมด้วยตนเองและควรมีการตรวจเต้านมด้วยตนเองเพื่อการลดความเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็งเต้านมและค้นหาความผิดปกติของเต้านมในระยะเริ่มแรกและรักษาได้

There are no comments on this title.

to post a comment.


Office of Academic Resources and Information Technology
      38 Moo. 8, Nawung Sub-District, Muang Phetchaburi District, Phetchaburi 76000 Thailand
    Tel: (032) 708609 Fax: (032) 708656 Email: library_office@mail.pbru.ac.th