Image from Google Jackets

แนวทางการจัดการศึกษาแบบพหุวัฒนธรรมของสถานศึกษาชายแดนไทย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 : วิทยานิพนธ์ = Guidelines for Multicuturl Education Management of Thai Border Educational Institutions under Prachup Khiri Khan Primary Educational Service Area Office 1. / วรารัตน์ กล่อมเสียง

By: Material type: TextTextPublication details: เพชรบุรี : สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2565Description: 123 หน้า : ภาพประกอบ ; 30 ซม. + ซีดีรอม 1 แผ่นOther title:
  • Guidelines for Multicuturl Education Management of Thai Border Educational Institutions under Prachup Khiri Khan Primary Educational Service Area Office 1
Subject(s): DDC classification:
  • วพ 370.117 ว322น 2565
Online resources: Dissertation note: วิทยานิพนธ์(ค.ม.)—มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2565 Summary: สถานศึกษาในพื้นที่ชายแดนไทยในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ เข้ามาศึกษาเป็นจำนวนมาก ซึ่งสถานศึกษาต้องมีความพร้อมในการจัดการศึกษาแบบพหุวัฒนธรรม ผู้วิจัยจึงได้ทำวิจัยเรื่องนี้โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการจัดการศึกษาแบบพหุวัฒนธรรมของสถานศึกษาชายแดนไทย และ 2) กำหนดแนวทางจัดการศึกษา แบบพหุวัฒนธรรมของสถานศึกษาชายแดนไทย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ แบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นศึกษาสภาพการจัดการศึกษาแบบพหุวัฒนธรรม ผู้ให้ข้อมูล หลักสำหรับการสัมภาษณ์ ประกอบด้วย (1) ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 3 คน (2) ครู จำนวน 3 คน และ (4) ผู้ปกครอง จำนวน 3 คน รวมทั้งสิ้น จำนวน 9 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง จำนวน 1 ฉบับ 2) ขั้นกำหนดแนวทางจัดการศึกษาแบบพหุวัฒนธรรมของสถานศึกษาชายแดนไทย ผู้ให้ข้อมูลหลักในสนทนากลุ่ม จำนวน 10 คน ประกอบด้วย (1) ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา จำนวน 1 คน (2) ผู้บริหารสถานศึกษา จกนวน 3 คน (3) ศึกษานิเทศก์ จำนวน 1 คน (4) ผู้นำชุมชน จำนวน 1 คน และ (5) ผู้ทรงคุณวุฒิด้านวัฒนธรรม จำนวน 4 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ ประเด็นการสนทนากลุ่ม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า 1. สภาพการจัดการศึกษาแบบพหุวัฒนธรรมของสถานศึกษาชายแดนไทย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 พบว่า 1) สถานศึกษาในพื้นที่ชายแดนไทยมีการให้โอกาสทางการ ศึกษาแก่นักเรียนชาวไทย พม่า กะเหรี่ยง มอญ ลาว และไทยพลัดถิ่น ให้มีความเสมอภาคในการเรียนรู้ ได้รู้และ เข้าใจถึงความแตกต่างของสมาชิกในชุมชนที่มีความแตกต่างทางวัฒนธรรม 2) สถานศึกษาจัดการเรียนการสอน ภาษาพม่าโดยใช้ครูชาวเมียนมาร์ 3) สถานศึกษาจัดกิจกรรมส่งเสริมวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์เพื่อสร้างการ ยอมรับในความแตกต่างของวัฒนธรรม และ 4) นักเรียนมีความรัก ความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน 2. แนวทางจัดการศึกษาแบบพหุวัฒนธรรมของสถานศึกษาชายแดน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 พบว่า มี 3 แนวทาง คือ 1) สถานศึกษาควรมีการสร้างสัมพันธ์กับชุมชนเพื่อ เสริมสร้างกิจกรรมทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ให้มีความเข้มแข็งยิ่งขึ้น 2) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 ควรให้การสนับสนุนงบประมาณในการจ้างครูชาวเมียนมาร์มาสอนภาษาพม่า อย่างต่อเนื่อง และ 3) ควรมีการพัฒนากิจกรรมเสริมหลักสูตรแบบพหุวัฒนธรรมให้หลากหลายมากขึ้น ข้อค้นพบจากการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า การจัดการศึกษาแบบพหุวัฒนธรรมจะประสบความสำเร็จได้ ผู้บริหารสถานศึกษาต้องมีภาวะผู้นำและมีความร่วมมือกับชุมชนในการจัดกิจกรรมแบบพหุวัฒนธรรม
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Collection Call number Copy number Status Date due Barcode
Thesis/Research Thesis/Research PBRU Library บรรณราชฯ ชั้น 5 วิทยานิพนธ์ มรภ.เพชรบุรี ชั้น 5 วพ 370.117 ว322น 2565 (Browse shelf(Opens below)) 1 Available 1000218040
Thesis/Research Thesis/Research PBRU Library บรรณราชฯ ชั้น 5 วิทยานิพนธ์ มรภ.เพชรบุรี ชั้น 5 วพ 370.117 ว322น 2565 (Browse shelf(Opens below)) 2 Available 1000218041
Browsing PBRU Library shelves, Shelving location: บรรณราชฯ ชั้น 5, Collection: วิทยานิพนธ์ มรภ.เพชรบุรี ชั้น 5 Close shelf browser (Hides shelf browser)
No cover image available No cover image available
No cover image available No cover image available
No cover image available No cover image available
No cover image available No cover image available
No cover image available No cover image available
No cover image available No cover image available
No cover image available No cover image available
วพ 370.111 ช148ก 2558 การประเมินหลักสูตรสถานศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ของโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ : วิทยานิพนธ์ = | Assessment of the basic education core curriculum B.E. 2551 of the schools under local administration in prachuapkirikhan province / วพ 370.113 ฐ332ป 2560 ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพการปฏิบัติงานของครูในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษา ในจังหวัดเพชรบุรี สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา : วิทยานิพนธ์ = | Factors affecting performance quality of teachers in the 21st century of college in Phetchaburi province under the vocatuional education commission / วพ 370.113 ฐ332ป 2560 ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพการปฏิบัติงานของครูในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษา ในจังหวัดเพชรบุรี สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา : วิทยานิพนธ์ = | Factors affecting performance quality of teachers in the 21st century of college in Phetchaburi province under the vocatuional education commission / วพ 370.117 ว322น 2565 แนวทางการจัดการศึกษาแบบพหุวัฒนธรรมของสถานศึกษาชายแดนไทย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 : วิทยานิพนธ์ = | Guidelines for Multicuturl Education Management of Thai Border Educational Institutions under Prachup Khiri Khan Primary Educational Service Area Office 1. / วพ 370.117 ว322น 2565 แนวทางการจัดการศึกษาแบบพหุวัฒนธรรมของสถานศึกษาชายแดนไทย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 : วิทยานิพนธ์ = | Guidelines for Multicuturl Education Management of Thai Border Educational Institutions under Prachup Khiri Khan Primary Educational Service Area Office 1. / วพ 370.7 ว837ส สภาพและปัญหาการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ สาขาวิชาช่างอุตสาหกรรม ในสถาบันการอาชีวศึกษา ภาคกลาง1 : วิทยานิพนธ์ = | Condition and problems of praction instruction of the industrial department in the vocational education institutes, central section 1/ วพ 370.7 ส443ค ความสามารถในการทำวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้สอนในสถามศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 : วิทยานิพนธ์ = | Ciassroom research capability of teachers in schools under the office of prachuap khiri khan educaion scrvice arae 1

วิทยานิพนธ์(ค.ม.)—มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2565

สถานศึกษาในพื้นที่ชายแดนไทยในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ เข้ามาศึกษาเป็นจำนวนมาก
ซึ่งสถานศึกษาต้องมีความพร้อมในการจัดการศึกษาแบบพหุวัฒนธรรม ผู้วิจัยจึงได้ทำวิจัยเรื่องนี้โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ
1) ศึกษาสภาพการจัดการศึกษาแบบพหุวัฒนธรรมของสถานศึกษาชายแดนไทย และ 2) กำหนดแนวทางจัดการศึกษา
แบบพหุวัฒนธรรมของสถานศึกษาชายแดนไทย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1
เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ แบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นศึกษาสภาพการจัดการศึกษาแบบพหุวัฒนธรรม ผู้ให้ข้อมูล
หลักสำหรับการสัมภาษณ์ ประกอบด้วย (1) ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 3 คน (2) ครู จำนวน 3 คน และ (4) ผู้ปกครอง
จำนวน 3 คน รวมทั้งสิ้น จำนวน 9 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง จำนวน 1 ฉบับ
2) ขั้นกำหนดแนวทางจัดการศึกษาแบบพหุวัฒนธรรมของสถานศึกษาชายแดนไทย ผู้ให้ข้อมูลหลักในสนทนากลุ่ม จำนวน
10 คน ประกอบด้วย (1) ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา จำนวน 1 คน (2) ผู้บริหารสถานศึกษา จกนวน 3 คน
(3) ศึกษานิเทศก์ จำนวน 1 คน (4) ผู้นำชุมชน จำนวน 1 คน และ (5) ผู้ทรงคุณวุฒิด้านวัฒนธรรม จำนวน 4 คน
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ ประเด็นการสนทนากลุ่ม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
ผลการศึกษาพบว่า
1. สภาพการจัดการศึกษาแบบพหุวัฒนธรรมของสถานศึกษาชายแดนไทย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 พบว่า 1) สถานศึกษาในพื้นที่ชายแดนไทยมีการให้โอกาสทางการ
ศึกษาแก่นักเรียนชาวไทย พม่า กะเหรี่ยง มอญ ลาว และไทยพลัดถิ่น ให้มีความเสมอภาคในการเรียนรู้ ได้รู้และ
เข้าใจถึงความแตกต่างของสมาชิกในชุมชนที่มีความแตกต่างทางวัฒนธรรม 2) สถานศึกษาจัดการเรียนการสอน
ภาษาพม่าโดยใช้ครูชาวเมียนมาร์ 3) สถานศึกษาจัดกิจกรรมส่งเสริมวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์เพื่อสร้างการ
ยอมรับในความแตกต่างของวัฒนธรรม และ 4) นักเรียนมีความรัก ความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน
2. แนวทางจัดการศึกษาแบบพหุวัฒนธรรมของสถานศึกษาชายแดน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 พบว่า มี 3 แนวทาง คือ 1) สถานศึกษาควรมีการสร้างสัมพันธ์กับชุมชนเพื่อ
เสริมสร้างกิจกรรมทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ให้มีความเข้มแข็งยิ่งขึ้น 2) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 ควรให้การสนับสนุนงบประมาณในการจ้างครูชาวเมียนมาร์มาสอนภาษาพม่า
อย่างต่อเนื่อง และ 3) ควรมีการพัฒนากิจกรรมเสริมหลักสูตรแบบพหุวัฒนธรรมให้หลากหลายมากขึ้น
ข้อค้นพบจากการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า การจัดการศึกษาแบบพหุวัฒนธรรมจะประสบความสำเร็จได้
ผู้บริหารสถานศึกษาต้องมีภาวะผู้นำและมีความร่วมมือกับชุมชนในการจัดกิจกรรมแบบพหุวัฒนธรรม

บริจาค

There are no comments on this title.

to post a comment.


Office of Academic Resources and Information Technology
      38 Moo. 8, Nawung Sub-District, Muang Phetchaburi District, Phetchaburi 76000 Thailand
    Tel: (032) 708609 Fax: (032) 708656 Email: library_office@mail.pbru.ac.th