รายงานการวิจัย เรื่อง ความต้องการในการศึกษาต่อของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญในจังหวัดพิษณุโลกและสุโขทัย / ไพศาล ริ้วธงชัย...[และคนอื่นๆ]

By: ไพศาล ริ้วธงชัยContributor(s): ไพศาล ริ้วธงชัยCall number: 373.19 พ996ค Material type: BookBookPublisher: พิษณุโลก : สถาบันราชภัฏพิบูลสงคราม, 2541Description: 86 หน้าOther title: ความต้องการในการศึกษาต่อของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญในเขตจังหวัดพิษณุโลกและสุโขทัย [Portion of title]Subject(s): การศึกษาขั้นมัธยม -- วิจัย | นักเรียน -- การศึกษาต่อ -- วิจัยDDC classification: 373.19 พ996ค Summary: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการในการศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญในเขตจังหวัดพิษณุโลกและสุโขทัย กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเป็นนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญที่จะสำเร็จการศึกษาปีการศึกษา 2540 จำนวน 1,197 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การความแตกต่างระหว่างกลุ่ม (t-test) การวิเคาาะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-way Analysis of Variance) และการหาค่าไคสแควส์ (Chi-Square) ซึ่งผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ นักเรียนส่วนใหญ่ต้องการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา โดยการสอบเข้ามหาวิทยาลัยของรัฐเป็นลำดับแรก รองลงมาเป็นสถาบันราชภัฏ โดยเลือกที่จะศึกษาต่อในจังหวัดพิษณุโลกสำหรับการได้รับข้อมูลเกี่ยวกับสถาบันที่จะไปศึกษาต่อส่วนใหญ่ได้จากอาจารย์แนะแนว การเลือกสาขาวิชาที่จะศึกษาต่อนักเรียนส่วนใหญ่ต้องการศึกษาต่อในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ ศิลปศึกษา วิชาชีพ และการศึกษาตามลำดับ สำหรับสาเหตุที่เลือกสาขาวิชาดังกล่าวเนื่องจากความถนัดของตนเองเป็นหลักแรก รองลงมาคือ ความภาคภูมิใจในสาขาวิชาที่เลือก นักเรียนที่อยู่ในโรงเรียน ที่มีขนาดของโรงเรียน อาชีพและรายได้ของผู้ปกครองแตกต่างกันมีความต้องการศึกษาต่อสาขาวิชาศิลปศาสตร์ วิทยาศาสตร์ การศึกษาและวิชาชีพ โดยรวมไม่แตกต่างกัน ยกเว้นบางกรณีเท่านั้นที่มีความแตกต่างกันและขนาดขอโรงเรียน อาชีพและรายได้ของผู้ปกครองโดยรวมไม่มีความสัมพันธ์กับเหตุผลในการเลือกสาขาวิชาต่างๆ ยกเว้นเหตุผลบางกรณีเท่านั้นมีความสัมพันธ์กัน
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Collection Call number Copy number Status Date due Barcode
Thesis/Research Thesis/Research PBRU Library
บรรณราชฯ ชั้น 5
งานวิจัย ชั้น 5 373.19 พ996ค (Browse shelf(Opens below)) 1 Available 1000038601
Browsing PBRU Library shelves, Shelving location: บรรณราชฯ ชั้น 5, Collection: งานวิจัย ชั้น 5 Close shelf browser (Hides shelf browser)
373.19 ก463ก การประเมินผลการใช้หลักสูตรระดับมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช 2521(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2524 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) / 373.19 ก463ก การประเมินผลการใช้หลักสูตรระดับมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช 2521(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2524 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) / 373.19 น118ป รายงานการวิจัย เรื่อง ปัญหาการเรียนการสอนจริยศึกษา ในชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น / 373.19 พ996ค รายงานการวิจัย เรื่อง ความต้องการในการศึกษาต่อของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญในจังหวัดพิษณุโลกและสุโขทัย / 373.19 ส636ก รายงานผลการวิจัย เรื่อง การประเมินการใช้หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2533) ในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัด สปช. เขตการศึกษา 5 / 373.19 อ417ก รายงานการวิจัย เรื่อง การสังเคราะห์ผลการใช้หลักสูตรมัธยมศึกษา ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533 / 373.2 ส636อ รายงานการวิจัย เรื่อง โอกาสการเข้าศึกษาในชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นความเสมอภาคของโอกาสทางการศึกษา /

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการในการศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญในเขตจังหวัดพิษณุโลกและสุโขทัย กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเป็นนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญที่จะสำเร็จการศึกษาปีการศึกษา 2540 จำนวน 1,197 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การความแตกต่างระหว่างกลุ่ม (t-test) การวิเคาาะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-way Analysis of Variance) และการหาค่าไคสแควส์ (Chi-Square) ซึ่งผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ นักเรียนส่วนใหญ่ต้องการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา โดยการสอบเข้ามหาวิทยาลัยของรัฐเป็นลำดับแรก รองลงมาเป็นสถาบันราชภัฏ โดยเลือกที่จะศึกษาต่อในจังหวัดพิษณุโลกสำหรับการได้รับข้อมูลเกี่ยวกับสถาบันที่จะไปศึกษาต่อส่วนใหญ่ได้จากอาจารย์แนะแนว การเลือกสาขาวิชาที่จะศึกษาต่อนักเรียนส่วนใหญ่ต้องการศึกษาต่อในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ ศิลปศึกษา วิชาชีพ และการศึกษาตามลำดับ สำหรับสาเหตุที่เลือกสาขาวิชาดังกล่าวเนื่องจากความถนัดของตนเองเป็นหลักแรก รองลงมาคือ ความภาคภูมิใจในสาขาวิชาที่เลือก นักเรียนที่อยู่ในโรงเรียน ที่มีขนาดของโรงเรียน อาชีพและรายได้ของผู้ปกครองแตกต่างกันมีความต้องการศึกษาต่อสาขาวิชาศิลปศาสตร์ วิทยาศาสตร์ การศึกษาและวิชาชีพ โดยรวมไม่แตกต่างกัน ยกเว้นบางกรณีเท่านั้นที่มีความแตกต่างกันและขนาดขอโรงเรียน อาชีพและรายได้ของผู้ปกครองโดยรวมไม่มีความสัมพันธ์กับเหตุผลในการเลือกสาขาวิชาต่างๆ ยกเว้นเหตุผลบางกรณีเท่านั้นมีความสัมพันธ์กัน

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Office of Academic Resources and Information Technology
    38 Moo. 8, Nawung Sub-District, Muang Phetchaburi District, Phetchaburi 76000 Thailand
    Tel: (032) 708609 Fax: (032) 708656 Email: library_office@mail.pbru.ac.th