แนวทางการบริหารจัดการที่ดีของเทศบาลตำบลในอำเภอเมือง จังหวัดชุมพร : วิทยานิพนธ์ = Approaches for good governance of subdistrict municipalities in mueang district In Chumphon province / ทัศนีย์ โสภิเณ

By: ทัศนีย์ โสภิเณCall number: วพ 352.14 ท364น Material type: BookBookPublisher: เพชรบุรี : สาขาวิชาการบริหารและพัฒนาประชาคมเมืองและชนบท มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2554Description: (12), 169 แผ่น : ภาพประกอบ ; 30 ซม. + ซีดีรอม 1 แผ่นOther title: Approaches for good governance of subdistrict municipalities in mueang district In Chumphon provinceSubject(s): มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. สาขาวิชาการบริหารและพัฒนาประชาคมเมืองและชนบท -- วิทยานิพนธ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี -- วิทยานิพนธ์ -- พ.ศ. 2554 | องค์การบริหารส่วนตำบล -- การบริหาร -- วิทยานิพนธ์ | องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น -- วิทยานิพนธ์DDC classification: วพ 352.14 ท364น Online resources: Fulltext Dissertation note: วิทยานิพนธ์ (รป.ม.)--มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2554 Summary: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ1) ศึกษาปัจจัยการบริหารของเทศบาลตำบลในอำเภอเมือง จังหวัดชุมพร 2) ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการที่ดีของเทศบาลตำบล ในอำเภอเมือง จังหวัดชุมพร 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการบริหารกับแนวทางการบริหารจัดการที่ดีของเทศบาลตำบลในอำเภอเมือง จังหวัดชุมพร และ 4) เปรียบเทียบแนวทางการบริหารจัดการของเทศบาลตำบลในอำเภอเมือง จังหวัดชุมพร จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลกลุ่มตัวอย่างคือกลุ่มผู้บริหารระดับกลางและกลุ่มปฏิบัติงานหลักของเทศบาลตำบลในอำเภอเมือง จังหวัดชุมพร จำนวน 276 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบสัดส่วนเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1. ปัจจัยการบริหารงานของเทศบาลตำบลในอำเภอเมือง จังหวัดชุมพรโดยรวมอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านการวางแผนและด้านการจัดองค์การรองลงมาคือ ด้านการประสานงานและด้านการอำนวยการโดยปัจจัยการวางแผนและการจัดองค์การมี ส่วนสำคัญในการบริหารงานของเทศบาลมากที่สุด 2. แนวทางการบริหารจัดการที่ดี ของเทศบาลตำบลในอำเภอเมือง จังหวัดชุมพรโดยรวมอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านหลักคุณธรรม รองลงมา คือ ด้านหลักการมีส่วนร่วม ด้านหลักการมีเหตุผลและด้านหลักความรับผิดชอบโดยผู้บริหารใช้หลักคุณธรรมในการบริหารจัดการของเทศบาลตำบลมากที่สุด 3. ปัจจัยการบริหารกับแนวทางการบริหารจัดการที่ดีของเทศบาลตำบลในอำเภอเมืองจังหวัดชุมพรโดยรวมมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติอยู่ในระดับปานกลางดังนั้นการควบคุมงานมีความสำคัญกับแนวทางการบริหารจัดการที่ดีของเทศบาลตำบล 4. กลุ่มผู้บริหารระดับกลางและกลุ่มปฏิบัติงานหลักของเทศบาลตำบลในอำเภอเมือง จังหวัดชุมพร ที่มีอายุ ระดับการศึกษาและตำแหน่งงาน ต่างกันมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ข้อค้นพบจากการวิจัยคือ คณะผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานมีการกำหนดและวางแผนการบริหารงานองค์การ โดยคำนึงถึงผลประโยชน์ของเทศบาลและประชาชน และมีการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานและการประเมินผลงานโดยสำรวจจากความพึงพอใจของประชาชนในเขตเทศบาล
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Collection Call number Copy number Status Date due Barcode
Thesis/Research Thesis/Research PBRU Library
บรรณราชฯ ชั้น 5
วิทยานิพนธ์ มรภ.เพชรบุรี ชั้น 5 วพ 352.14 ท364น (Browse shelf(Opens below)) 1 Available 1000170505
Thesis/Research Thesis/Research PBRU Library
บรรณราชฯ ชั้น 5
วิทยานิพนธ์ มรภ.เพชรบุรี ชั้น 5 วพ 352.14 ท364น (Browse shelf(Opens below)) 2 Available 1000170506
Browsing PBRU Library shelves, Shelving location: บรรณราชฯ ชั้น 5, Collection: วิทยานิพนธ์ มรภ.เพชรบุรี ชั้น 5 Close shelf browser (Hides shelf browser)
วพ 352.14 ณ371ก การมีส่วนร่วมของประชาชนในการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านสังคมและคุณภาพชีวิตของแผนพัฒนา 3 ปี (พ.ศ.2554-2556) ของเทศบาลตำบลเขาน้อย อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ : วิทยานิพนธ์ = | Participation of people in the implementation of three-year social and life quality strategic development plan (2011-2013) of Khao noi subdistrict municipality in pran buri district,Prachuap Khiri Khan Province / วพ 352.14 ด211ก การดำเนินงานเพื่อสร้างความเข้มแข็งของชุมชนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงขององค์การบริหารส่วนตำบล อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร : วิทยานิพนธ์ = | An Operation to strengthen community based on the sufficiency economy philosophy undertaken by subdistrict administrative organizations in the sae istrict,Chumphon Province / วพ 352.14 ด211ก การดำเนินงานเพื่อสร้างความเข้มแข็งของชุมชนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงขององค์การบริหารส่วนตำบล อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร : วิทยานิพนธ์ = | An Operation to strengthen community based on the sufficiency economy philosophy undertaken by subdistrict administrative organizations in the sae istrict,Chumphon Province / วพ 352.14 ท364น แนวทางการบริหารจัดการที่ดีของเทศบาลตำบลในอำเภอเมือง จังหวัดชุมพร : วิทยานิพนธ์ = | Approaches for good governance of subdistrict municipalities in mueang district In Chumphon province / วพ 352.14 ท364น แนวทางการบริหารจัดการที่ดีของเทศบาลตำบลในอำเภอเมือง จังหวัดชุมพร : วิทยานิพนธ์ = | Approaches for good governance of subdistrict municipalities in mueang district In Chumphon province / วพ 352.14 ท474ก 2558 การจัดการความรู้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ : วิทยานิพนธ์ = | Knowledge management for increasing administrative efficency of subdistrict administrative organizations in prachuap khirikhan province / วพ 352.14 ท474ก 2558 การจัดการความรู้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ : วิทยานิพนธ์ = | Knowledge management for increasing administrative efficency of subdistrict administrative organizations in prachuap khirikhan province /

วิทยานิพนธ์ (รป.ม.)--มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2554

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ1) ศึกษาปัจจัยการบริหารของเทศบาลตำบลในอำเภอเมือง จังหวัดชุมพร 2) ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการที่ดีของเทศบาลตำบล ในอำเภอเมือง จังหวัดชุมพร 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการบริหารกับแนวทางการบริหารจัดการที่ดีของเทศบาลตำบลในอำเภอเมือง จังหวัดชุมพร และ 4) เปรียบเทียบแนวทางการบริหารจัดการของเทศบาลตำบลในอำเภอเมือง จังหวัดชุมพร จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลกลุ่มตัวอย่างคือกลุ่มผู้บริหารระดับกลางและกลุ่มปฏิบัติงานหลักของเทศบาลตำบลในอำเภอเมือง จังหวัดชุมพร จำนวน 276 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบสัดส่วนเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ของเพียร์สัน
ผลการวิจัยพบว่า
1. ปัจจัยการบริหารงานของเทศบาลตำบลในอำเภอเมือง จังหวัดชุมพรโดยรวมอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านการวางแผนและด้านการจัดองค์การรองลงมาคือ ด้านการประสานงานและด้านการอำนวยการโดยปัจจัยการวางแผนและการจัดองค์การมี ส่วนสำคัญในการบริหารงานของเทศบาลมากที่สุด
2. แนวทางการบริหารจัดการที่ดี ของเทศบาลตำบลในอำเภอเมือง จังหวัดชุมพรโดยรวมอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านหลักคุณธรรม รองลงมา คือ ด้านหลักการมีส่วนร่วม ด้านหลักการมีเหตุผลและด้านหลักความรับผิดชอบโดยผู้บริหารใช้หลักคุณธรรมในการบริหารจัดการของเทศบาลตำบลมากที่สุด
3. ปัจจัยการบริหารกับแนวทางการบริหารจัดการที่ดีของเทศบาลตำบลในอำเภอเมืองจังหวัดชุมพรโดยรวมมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติอยู่ในระดับปานกลางดังนั้นการควบคุมงานมีความสำคัญกับแนวทางการบริหารจัดการที่ดีของเทศบาลตำบล
4. กลุ่มผู้บริหารระดับกลางและกลุ่มปฏิบัติงานหลักของเทศบาลตำบลในอำเภอเมือง จังหวัดชุมพร ที่มีอายุ ระดับการศึกษาและตำแหน่งงาน ต่างกันมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ข้อค้นพบจากการวิจัยคือ คณะผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานมีการกำหนดและวางแผนการบริหารงานองค์การ โดยคำนึงถึงผลประโยชน์ของเทศบาลและประชาชน และมีการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานและการประเมินผลงานโดยสำรวจจากความพึงพอใจของประชาชนในเขตเทศบาล

บริจาค ; 31/10/2012

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Office of Academic Resources and Information Technology
    38 Moo. 8, Nawung Sub-District, Muang Phetchaburi District, Phetchaburi 76000 Thailand
    Tel: (032) 708609 Fax: (032) 708656 Email: library_office@mail.pbru.ac.th