การพัฒนาตัวบ่งชี้คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียน นักศึกษา ในศตวรรษที่ 21 สังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดเพชรบุรี : วิทยานิพนธ์ = The development of the desirable characteristic indicators of phetchaburi vocational college students of the 21st century. / วิกรม ดังก้อง

By: วิกรม ดังก้องCall number: วพ 371.2 ว495ก 2564 Material type: BookBookPublisher: เพชรบุรี : สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2564Description: 149 แผ่น : 30 ซม. + ซีดีรอม 1 แผ่นOther title: The development of the desirable characteristic indicators of phetchaburi vocational college students of the 21st centurySubject(s): มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี สาขาวิชาการบริหารการศึกษา -- วิทยานิพนธ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี -- วิทยานิพนธ์ -- 2564 | ตัวบ่งชี้ทางการศึกษา -- วิทยานิพนธ์ | นักเรียน -- การพัฒนาตัวบ่งชี้ -- วิทยานิพนธ์ | นักเรียน -- จริยธรรม -- ค่านิยม -- วิทยานิพนธ์ | นักศึกษา -- จริยธรรม -- ค่านิยม -- วิทยานิพนธ์Genre/Form: การพัฒนาตัวบ่งชี้ | คุณลักษณะที่พึงประสงค์DDC classification: วพ 371.2 ว495ก 2564 Online resources: cover | abstract | acknowledgement | content | chapter1 | chapter2 | chapter3 | chapter4 | chapter5 | bibliography | appendix Dissertation note: วิทยานิพนธ์(ค.ม.)—มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2564 Summary: การพัฒนาตัวบ่งชี้คุณลักษณะที่พึงประสงค์เป็นการพัฒนาลักษณะที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนอันเป็นคุณลักษณะที่ต้องการในด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม จิตสำนึก สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ทั้งในฐานะพลเมืองไทยและพลเมืองโลก ผู้วิจัยจึงสนใจทำวิจัยเรื่องนี้โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนา ตัวบ่งชี้คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของนักเรียน นักศึกษา ในศตวรรษที่ 21 สังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดเพชรบุรี และ 2) วิเคราะห์ความกลมกลืนของตัวบ่งชี้คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของนักเรียน นักศึกษา ในศตวรรษที่ 21 สังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดเพชรบุรี กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้บริหาร และครูผู้สอน ในสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดเพชรบุรี จำนวน 240 คน ตัวแปรที่ศึกษา คือ ตัวแปรแฝง 1 ตัวแปร คือ การพัฒนาตัวบ่งชี้คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของนักเรียน นักศึกษา ในศตวรรษที่ 21 สังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดเพชรบุรี ซึ่งประกอบด้วยตัวแปรสังเกตได้ 12 ตัวแปร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.80 สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลการพัฒนาตัวบ่งชี้คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียน นักศึกษา ในศตวรรษที่ 21 สังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดเพชรบุรี ได้จ านวน 12 องค์ประกอบ ได้แก่ ด้านซื่อสัตย์สุจริต ด้านมีวินัย ด้านรักชาติ ศาสน์กษัตริย์ ด้านใฝ่เรียนรู้ ด้านมุ่งมั่นในการทำงาน ด้านรักความเป็นไทย ด้านอยู่อย่างพอเพียง ด้านมีจิตสาธารณะ ด้านมีความรู้ในวิชาหลัก ด้านมีทักษะชีวิตและทักษะอาชีพ ด้านมีทักษะการเรียนรู้และสร้างนวัตกรรมใหม่ และด้านมีทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี 2. ผลการวิเคราะห์ความกลมกลืนของตัวบ่งชี้คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของนักเรียน นักศึกษา ในศตวรรษที่ 21 สังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดเพชรบุรี พบว่า โมเดลการวิจัยสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าน้ำหนักองค์ประกอบอยู่ระหว่าง 0.30 – 0.65 เรียงลำดับค่าน้ำหนักองค์ประกอบจากมากไปน้อย ดังนี้ด้านมีความรู้ในวิชาหลัก ด้านมีทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี ด้านมีทักษะการเรียนรู้และสร้างนวัตกรรมใหม่ ด้านรักความเป็นไทย ด้านมีทักษะชีวิตและทักษะอาชีพ ด้านอยู่อย่างพอเพียง ด้านมีจิต สาธารณะ ด้านใฝ่เรียนรู้ ด้านมุ่งมั่นในการท างาน ด้านซื่อสัตย์สุจริต ด้านมีวินัย และด้านรักชาติศาสน์กษัตริย์มีค่าน้ำหนักองค์ประกอบเท่ากับ 0.65, 0.57, 0.57, 0.50, 0.49, 0.49, 0.48, 0.46, 0.44, 0.41, 0.40 และ 0.30 ตามลำดับ ผลการตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลกับข้อมูลเชิงประจักษ์ พบว่า มีค่าไคสแควร์ 207.57, ที่องศาอิสระ (df) = 54, ค่า p - value = 0.00000, ดัชนี GFI = 0.87, ดัชนี AGFI = 0.82, ดัชนี CFI = 0.98, ค่า Standardized RMR = 0.047 (ต่ ากว่า 0.08) และค่า RMSEA = 0.109 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ค่าสถิติไคสแควร์ไม่มีนัยส าคัญ (p  .05) แสดงว่าโมเดลการวัดมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ข้อค้นพบจากการวิจัยพบว่า ตัวบ่งชี้คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียน นักศึกษา ในศตวรรษที่ 21 สังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดเพชรบุรี ด้านรักชาติศาสน์กษัตริย์ มีค่าวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันน้อยที่สุด ดังนั้น ผู้บริหารสถานศึกษา และครูในสถานศึกษาสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดเพชรบุรี ควรหาแนวทางในการสร้างความตระหนักและความเข้าใจให้กับนักเรียน นักศึกษา เพื่อให้นักเรียน นักศึกษา เห็นถึงความสำคัญของสถาบันของชาติ ศาสน์ กษัตริย์ซึ่งเป็นสถาบันหลัก และเป็นศูนย์รวมที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจของคนไทย
Star ratings
    Average rating: 1.0 (1 votes)
Holdings
Item type Current library Collection Call number Copy number Status Date due Barcode
Thesis/Research Thesis/Research PBRU Library
บรรณราชฯ ชั้น 5
วิทยานิพนธ์ ชั้น 5 วพ 371.2 ว495ก 2564 (Browse shelf(Opens below)) 1 Available 1000209828
Thesis/Research Thesis/Research PBRU Library
บรรณราชฯ ชั้น 5
วิทยานิพนธ์ ชั้น 5 วพ 371.2 ว495ก 2564 (Browse shelf(Opens below)) 2 Available 1000209829
Browsing PBRU Library shelves, Shelving location: บรรณราชฯ ชั้น 5, Collection: วิทยานิพนธ์ ชั้น 5 Close shelf browser (Hides shelf browser)
วพ 371.2 พ322ผ ผลของการบริหารสถานศึกษาด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนอำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเพชรบุรี เขต 1 : วิทยานิพนธ์ = | The result of school administration on required characteristics of students in muang district, phetchaburi province under the office of phetchaburi educational service area 1 / วพ 371.2 พ924ก 2563 การสร้างเครือข่ายการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา (STEM) เพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมในโรงเรียนมัธยมศึกษาจังหวัดเพชรบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 10 : วิทยานิพนธ์ = | Creating a stem network of educational management (STEM) to develop innovative thinking skills in secondary schools Phetchaburi province under the secondary educational service areas office 10. / วพ 371.2 พ924ก 2563 การสร้างเครือข่ายการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา (STEM) เพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมในโรงเรียนมัธยมศึกษาจังหวัดเพชรบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 10 : วิทยานิพนธ์ = | Creating a stem network of educational management (STEM) to develop innovative thinking skills in secondary schools Phetchaburi province under the secondary educational service areas office 10. / วพ 371.2 ว495ก 2564 การพัฒนาตัวบ่งชี้คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียน นักศึกษา ในศตวรรษที่ 21 สังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดเพชรบุรี : วิทยานิพนธ์ = | The development of the desirable characteristic indicators of phetchaburi vocational college students of the 21st century. / วพ 371.2 ว495ก 2564 การพัฒนาตัวบ่งชี้คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียน นักศึกษา ในศตวรรษที่ 21 สังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดเพชรบุรี : วิทยานิพนธ์ = | The development of the desirable characteristic indicators of phetchaburi vocational college students of the 21st century. / วพ 371.2 ศ747ก 2564 การพัฒนารูปแบบการบริหารโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 : วิทยานิพนธ์ = | The administrative model development of quality schools in sub-districts under Prachuap Khiri Khan primary educational service area office 1 / วพ 371.2 ศ747ก 2564 การพัฒนารูปแบบการบริหารโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 : วิทยานิพนธ์ = | The administrative model development of quality schools in sub-districts under Prachuap Khiri Khan primary educational service area office 1 /

วิทยานิพนธ์(ค.ม.)—มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2564

การพัฒนาตัวบ่งชี้คุณลักษณะที่พึงประสงค์เป็นการพัฒนาลักษณะที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนอันเป็นคุณลักษณะที่ต้องการในด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม จิตสำนึก สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ทั้งในฐานะพลเมืองไทยและพลเมืองโลก ผู้วิจัยจึงสนใจทำวิจัยเรื่องนี้โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนา
ตัวบ่งชี้คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของนักเรียน นักศึกษา ในศตวรรษที่ 21 สังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดเพชรบุรี และ 2) วิเคราะห์ความกลมกลืนของตัวบ่งชี้คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของนักเรียน นักศึกษา ในศตวรรษที่ 21 สังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดเพชรบุรี กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้บริหาร และครูผู้สอน ในสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดเพชรบุรี จำนวน 240 คน ตัวแปรที่ศึกษา คือ ตัวแปรแฝง 1 ตัวแปร คือ การพัฒนาตัวบ่งชี้คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของนักเรียน นักศึกษา ในศตวรรษที่ 21 สังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดเพชรบุรี ซึ่งประกอบด้วยตัวแปรสังเกตได้ 12 ตัวแปร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.80 สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน
ผลการวิจัย พบว่า
1. ผลการพัฒนาตัวบ่งชี้คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียน นักศึกษา ในศตวรรษที่ 21 สังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดเพชรบุรี ได้จ านวน 12 องค์ประกอบ ได้แก่ ด้านซื่อสัตย์สุจริต ด้านมีวินัย ด้านรักชาติ ศาสน์กษัตริย์ ด้านใฝ่เรียนรู้ ด้านมุ่งมั่นในการทำงาน ด้านรักความเป็นไทย ด้านอยู่อย่างพอเพียง ด้านมีจิตสาธารณะ ด้านมีความรู้ในวิชาหลัก ด้านมีทักษะชีวิตและทักษะอาชีพ ด้านมีทักษะการเรียนรู้และสร้างนวัตกรรมใหม่ และด้านมีทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี
2. ผลการวิเคราะห์ความกลมกลืนของตัวบ่งชี้คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของนักเรียน นักศึกษา ในศตวรรษที่ 21 สังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดเพชรบุรี พบว่า โมเดลการวิจัยสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าน้ำหนักองค์ประกอบอยู่ระหว่าง 0.30 – 0.65 เรียงลำดับค่าน้ำหนักองค์ประกอบจากมากไปน้อย ดังนี้ด้านมีความรู้ในวิชาหลัก ด้านมีทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี ด้านมีทักษะการเรียนรู้และสร้างนวัตกรรมใหม่ ด้านรักความเป็นไทย ด้านมีทักษะชีวิตและทักษะอาชีพ ด้านอยู่อย่างพอเพียง ด้านมีจิต
สาธารณะ ด้านใฝ่เรียนรู้ ด้านมุ่งมั่นในการท างาน ด้านซื่อสัตย์สุจริต ด้านมีวินัย และด้านรักชาติศาสน์กษัตริย์มีค่าน้ำหนักองค์ประกอบเท่ากับ 0.65, 0.57, 0.57, 0.50, 0.49, 0.49, 0.48, 0.46, 0.44, 0.41, 0.40 และ 0.30 ตามลำดับ ผลการตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลกับข้อมูลเชิงประจักษ์ พบว่า มีค่าไคสแควร์ 207.57, ที่องศาอิสระ (df) = 54, ค่า p - value = 0.00000, ดัชนี GFI = 0.87, ดัชนี AGFI = 0.82, ดัชนี CFI = 0.98, ค่า Standardized RMR = 0.047 (ต่ ากว่า 0.08) และค่า RMSEA = 0.109 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ค่าสถิติไคสแควร์ไม่มีนัยส าคัญ (p  .05) แสดงว่าโมเดลการวัดมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์
ข้อค้นพบจากการวิจัยพบว่า ตัวบ่งชี้คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียน นักศึกษา ในศตวรรษที่ 21 สังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดเพชรบุรี ด้านรักชาติศาสน์กษัตริย์ มีค่าวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันน้อยที่สุด ดังนั้น ผู้บริหารสถานศึกษา และครูในสถานศึกษาสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดเพชรบุรี ควรหาแนวทางในการสร้างความตระหนักและความเข้าใจให้กับนักเรียน นักศึกษา เพื่อให้นักเรียน นักศึกษา เห็นถึงความสำคัญของสถาบันของชาติ ศาสน์ กษัตริย์ซึ่งเป็นสถาบันหลัก และเป็นศูนย์รวมที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจของคนไทย

บริจาค

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Office of Academic Resources and Information Technology
    38 Moo. 8, Nawung Sub-District, Muang Phetchaburi District, Phetchaburi 76000 Thailand
    Tel: (032) 708609 Fax: (032) 708656 Email: library_office@mail.pbru.ac.th