การพัฒนารูปแบบการนิเทศนักศึกษา ฝึกอาชีพระบบทวิภาคี ของวิทยาลัยการอาชีพเขาย้อย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา : วิทยานิพนธ์ = The development of student supervision model bilateral system career training of Khao Yoi vocational college office under the vocational education commission / ปรีชา ศูนย์กลาง

By: ปรีชา ศูนย์กลาง | ปรีชา ศูนย์กลางCall number: วพ 371.203 ป467ก 2564 Material type: BookBookPublisher: เพชรบุรี : สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2564Description: 215 แผ่น : ภาพประกอบ ; 30 ซม. + ซีดีรอม 1 แผ่นOther title: The development of student supervision model bilateral system career training of Khao Yoi vocational college office under the vocational education commissionSubject(s): มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี สาขาวิชาการบริหารการศึกษา -- วิทยานิพนธ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี -- วิทยานิพนธ์ -- 2564 | วิทยาลัยการอาชีพเขาย้อย -- วิทยานิพนธ์ | การนิเทศการศึกษา -- วิทยานิพนธ์Genre/Form: การพัฒนารูปแบบ | ฝึกอาชีพ | การนิเทศนักศึกษาDDC classification: วพ 371.203 ป467ก 2564 Online resources: cover | abstract | acknowledgement | content | chapter1 | chapter2 | chapter3 | chapter4 | chapter5 | bibliography | appendix Dissertation note: วิทยานิพนธ์(ค.ม.)—มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2564 Summary: การจัดการศึกษาอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีเป็นการจัดการศึกษาด้านอาชีพที่เป็นการจัดการศึกษาระหว่างสถานศึกษาร่วมกับสถานประกอบการในการฝึกอาชีพให้กับผู้เรียน ในระบบทวิภาคีหัวใจสำคัญที่จะทำให้การจัดการศึกษาประสบความสำเร็จคือการจัดให้มีการฝึกอาชีพแบบทวิภาคีซึ่งต้องใช้รูปแบบการนิเทศนักศึกษาที่มีประสิทธิภาพ ดังนั้นผู้วิจัยมีความสนใจมีความสนใจในการวิจัยเรื่องนี้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพื่อพัฒนารูปแบบการนิเทศนักศึกษาฝึกอาชีพ ระบบทวิภาคี ของวิทยาลัยการอาชีพเขาย้อย สังกัดำสนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ใน การวิจัยครั้งนี้เป็นผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 2 คน ครูนิเทศน์จำนวน 21 คน ครูฝึกประสบการณ์ จำนวน 10 คน และนักศึกษา จำนวน 59 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) คู่มือการใช้รูปแบบการนิเทศนักศึกษาฝึกอาชีพระบบทวิภาคี ของวิทยาลัยการอาชีพเขาย้อย มีค่าความสอดคล้อง อยู่ระหว่าง 0.67 – 1.00 2) แบบประเมินผลการฝึกอาชีพระบบทวิภาคี มีค่าความสอดคล้องอยู่ระหว่าง 0.67 – 1.00 และ 3) แบบประเมินรูปแบบการนิเทศนักศึกษาฝึกอาชีพระบบ ทวิภาคี เป็นมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความสอดคล้องอยู่ระหว่าง 0.67 – 1.00 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลการพัฒนารูปแบบการนิเทศนักศึกษา ฝึกอาชีพระบบทวิภาคี ของวิทยาลัยการอาชีพเขาย้อย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา คือ “Khao Yoi BSCT Model” ประกอบด้วย 9 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นวางแผน 2) ขั้นลงทะเบียน 3) ขั้นปฐมนิเทศ 4) ขั้นจัดนักศึกษาฝึก อาชีพ 5) ขั้นการให้คำแนะนำและให้คำปรึกษา 6) ขั้นการควบคุม 7) ขั้นประเมิน 8) ขั้นรายงาน และ 9) ขั้นการให้ข้อมูลป้อนกลับ 2. ผลการใช้รูปแบบการนิเทศนักศึกษา ฝึกอาชีพระบบทวิภาคี ของวิทยาลัยการอาชีพเขาย้อย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา พบว่า โดยภาพรวมผลการประเมินอยู่ในระดับดีมาก และทุกขั้นมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ขั้นที่มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก และมีค่าเฉลี่ยมากกว่าขั้นอื่นๆ คือ ขั้นข้อมูลป้อนกลับ รองลงมาคือ ขั้นการให้คำแนะนำและให้คำปรึกษา ขั้นการปฐมนิเทศ ตามลำดับ ส่วนขั้นที่อยู่ลำดับสุดท้าย คือ ขั้นการประเมิน ผลการฝึกอาชีพของนักศึกษาโดยภาพรวมอยู่ในระดับ มาก ข้อค้นพบจากการวิจัยแสดงให้เห็นว่า การพัฒนารูปแบบการนิเทศนักศึกษา ฝึกอาชีพระบบทวิภาคี ของวิทยาลัยการอาชีพเขาย้อย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มีความสำคัญต่อการจัดการเรียนการสอนระบบทวิภาคี เพื่อช่วยนิเทศและติดตามการฝึกอาชีพของนักศึกษา
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Collection Call number Copy number Status Date due Barcode
Thesis/Research Thesis/Research PBRU Library
บรรณราชฯ ชั้น 5
วิทยานิพนธ์ ชั้น 5 วพ 371.203 ป467ก 2564 (Browse shelf(Opens below)) 1 Available 1000209814
Thesis/Research Thesis/Research PBRU Library
บรรณราชฯ ชั้น 5
วิทยานิพนธ์ ชั้น 5 วพ 371.203 ป467ก 2564 (Browse shelf(Opens below)) 2 Available 1000209815
Browsing PBRU Library shelves, Shelving location: บรรณราชฯ ชั้น 5, Collection: วิทยานิพนธ์ ชั้น 5 Close shelf browser (Hides shelf browser)
วพ 371.201 ผ180ป ประสิทธิภาพในการบริหารงานบุคคลของโรงเรียนกองทัพบกอุปถัมภ์ = | The Efficiency of Personnel Administration in Schools under The Patronage of The Royal Thai Army / วพ 371.201 ภ168ส 2561 สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา ที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการเรียนรู้แบบดิจิทัลในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 2 : วิทยานิพนธ์ = | Competency of school administrators affecting effectiveness of digital learning in schools under phetchaburi primary educational service area office 2 / วพ 371.201 อ252ก 2562 การบริหารตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อความสำเร็จของโรงเรียนสุจริต สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 และเขต 2 = | Good governance based administration of school administrators affecting success of upright schools under phetchaburi primary educational service area offices 1 and 2 / วพ 371.203 ป467ก 2564 การพัฒนารูปแบบการนิเทศนักศึกษา ฝึกอาชีพระบบทวิภาคี ของวิทยาลัยการอาชีพเขาย้อย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา : วิทยานิพนธ์ = | The development of student supervision model bilateral system career training of Khao Yoi vocational college office under the vocational education commission / วพ 371.203 ป467ก 2564 การพัฒนารูปแบบการนิเทศนักศึกษา ฝึกอาชีพระบบทวิภาคี ของวิทยาลัยการอาชีพเขาย้อย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา : วิทยานิพนธ์ = | The development of student supervision model bilateral system career training of Khao Yoi vocational college office under the vocational education commission / วพ 371.203 ร375ค ความรู้และการปฏิบัติงานการนิเทศภายในโรงเรียนของผู้บริหารโรงเรียน : วิทยานิพนธ์ = | Internal Supervision Knowledge and Performance of School Administrators / วพ 371.206 ด554ก การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน : กรณีศึกษาโรงเรียนบอสโกพิทักษ์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม = | An Information System Development for Performance-Based Budgeting Managment : A Case Study in Boscopitak School, Amphoe Muang, Nakhon Pathom /

วิทยานิพนธ์(ค.ม.)—มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2564

การจัดการศึกษาอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีเป็นการจัดการศึกษาด้านอาชีพที่เป็นการจัดการศึกษาระหว่างสถานศึกษาร่วมกับสถานประกอบการในการฝึกอาชีพให้กับผู้เรียน ในระบบทวิภาคีหัวใจสำคัญที่จะทำให้การจัดการศึกษาประสบความสำเร็จคือการจัดให้มีการฝึกอาชีพแบบทวิภาคีซึ่งต้องใช้รูปแบบการนิเทศนักศึกษาที่มีประสิทธิภาพ ดังนั้นผู้วิจัยมีความสนใจมีความสนใจในการวิจัยเรื่องนี้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพื่อพัฒนารูปแบบการนิเทศนักศึกษาฝึกอาชีพ ระบบทวิภาคี ของวิทยาลัยการอาชีพเขาย้อย สังกัดำสนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ใน การวิจัยครั้งนี้เป็นผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 2 คน ครูนิเทศน์จำนวน 21 คน ครูฝึกประสบการณ์ จำนวน 10 คน และนักศึกษา จำนวน 59 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) คู่มือการใช้รูปแบบการนิเทศนักศึกษาฝึกอาชีพระบบทวิภาคี ของวิทยาลัยการอาชีพเขาย้อย มีค่าความสอดคล้อง อยู่ระหว่าง 0.67 – 1.00 2) แบบประเมินผลการฝึกอาชีพระบบทวิภาคี มีค่าความสอดคล้องอยู่ระหว่าง 0.67 – 1.00 และ 3) แบบประเมินรูปแบบการนิเทศนักศึกษาฝึกอาชีพระบบ
ทวิภาคี เป็นมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความสอดคล้องอยู่ระหว่าง 0.67 – 1.00 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัย พบว่า
1. ผลการพัฒนารูปแบบการนิเทศนักศึกษา ฝึกอาชีพระบบทวิภาคี ของวิทยาลัยการอาชีพเขาย้อย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา คือ “Khao Yoi BSCT Model” ประกอบด้วย 9 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นวางแผน 2) ขั้นลงทะเบียน 3) ขั้นปฐมนิเทศ 4) ขั้นจัดนักศึกษาฝึก
อาชีพ 5) ขั้นการให้คำแนะนำและให้คำปรึกษา 6) ขั้นการควบคุม 7) ขั้นประเมิน 8) ขั้นรายงาน และ
9) ขั้นการให้ข้อมูลป้อนกลับ
2. ผลการใช้รูปแบบการนิเทศนักศึกษา ฝึกอาชีพระบบทวิภาคี ของวิทยาลัยการอาชีพเขาย้อย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา พบว่า โดยภาพรวมผลการประเมินอยู่ในระดับดีมาก และทุกขั้นมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ขั้นที่มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก และมีค่าเฉลี่ยมากกว่าขั้นอื่นๆ คือ ขั้นข้อมูลป้อนกลับ รองลงมาคือ ขั้นการให้คำแนะนำและให้คำปรึกษา ขั้นการปฐมนิเทศ ตามลำดับ ส่วนขั้นที่อยู่ลำดับสุดท้าย คือ ขั้นการประเมิน ผลการฝึกอาชีพของนักศึกษาโดยภาพรวมอยู่ในระดับ มาก
ข้อค้นพบจากการวิจัยแสดงให้เห็นว่า การพัฒนารูปแบบการนิเทศนักศึกษา ฝึกอาชีพระบบทวิภาคี ของวิทยาลัยการอาชีพเขาย้อย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มีความสำคัญต่อการจัดการเรียนการสอนระบบทวิภาคี เพื่อช่วยนิเทศและติดตามการฝึกอาชีพของนักศึกษา

บริจาค

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Office of Academic Resources and Information Technology
    38 Moo. 8, Nawung Sub-District, Muang Phetchaburi District, Phetchaburi 76000 Thailand
    Tel: (032) 708609 Fax: (032) 708656 Email: library_office@mail.pbru.ac.th