พฤติกรรมการดูแลทันตสุขภาพเด็กก่อนวัยเรียนของผู้ปกครองในเขตอำเภอสวี จังหวีดชุมพร : วิทยานิพนธ์ = Dental health care behaviors of parents for pre-school children in sawi district,Chumphon province / วิชุตา คมขำ

By: วิชุตา คมขำCall number: วพ 617.6 ว557พ Material type: BookBookPublisher: เพชรบุรี : สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2554Description: (10), 97 แผ่น : ภาพประกอบ ; 30 ซม. + ซีดีรอม 1 แผ่นOther title: Dental health care behaviors of parents for pre-school children in sawi district,Chumphon provinceSubject(s): มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี -- วิทยานิพนธ์ -- พ.ศ. 2554 | ทันตกรรมเด็ก -- วิทยานิพนธ์ | ฟัน -- การดูแลและสุขวิทยา -- วิทยานิพนธ์DDC classification: วพ 617.6 ว557พ Online resources: cover | abstract | acknowledgement | content | chapter1 | chapter2 | chapter3 | chapter4 | chapter5 | bibliography | appendix Dissertation note: วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2554 Summary: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับพฤติกรรมการดูแลทันตสุขภาพเด็ก ก่อนวัยเรียนของผู้ปกครอง และ 2) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการดูแลทันตสุขภาพเด็กก่อนวัเรียน ง ของผู้ปกครอง ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ ผู้ปกครองเด็กก่อนวัยเรียนที่อาศัยอยู่ในเขตอำเภอสวี จังหวัดชุมพร ทำการสุ่มแบบหลายขั้นตอนได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 280 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บ รวบรวมข้อมูลคือ แบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลทันตสุขภาพเด็กก่อนวัยเรียนของ ผู้ปกครองพร้อมทั้งการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกและการสังเกตจากสภาพการดำรงชีวิตของ ผู้ปกครอง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1. พฤติกรรมการดูแลทันตสุขภาพเด็กก่อนวัยเรียนของผู้ปกครอง ในเขตอำเภอสวี จังหวัดชุมพร อยู่ในระดับพอใช้ โดยเมื่อพิจารณาพฤติกรรมแต่ละด้าน พบว่า พฤติกรรมการดูแล การบริโภคอาหารอยู่ในระดับพอใช้ ส่วนพฤติกรรมการทำความสะอาดช่องปาก การตรวจฟันเด็กและ การพาเด็กไปพบทันตแพทย์นั้นอยู่ในระดับไม่ดี 2. ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการดูแลทันตสุขภาพเด็กก่อนวัยเรียนของผู้ปกครองพบว่า ปัจจัยเสริมด้านการได้รับการสนับสนุนทางสังคมจาก ญาติ เพื่อนบ้าน เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และ หน่วยงานต่าง ๆ มีผลมากที่สุด รองลงมาคือ ปัจจัยเอื้อด้านการเข้าถึงแหล่งขายอุปกรณ์ทำความสะอาด ฟันเด็ก และปัจจัยนำด้านความเชื่อเกี่ยวกับการดูแลทันตสุขภาพเด็กก่อนวัยเรียน ตามลำดับ อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนปัจจัยด้านอื่น ๆ ไม่มีผลต่อพฤติกรรมการดูแลทันตสุขภาพเด็ก ก่อนวัยเรียนของผู้ปกครอง
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Collection Call number Copy number Status Date due Barcode
Thesis/Research Thesis/Research PBRU Library
บรรณราชฯ ชั้น 5
วิทยานิพนธ์ มรภ.เพชรบุรี ชั้น 5 วพ 617.6 ว557พ (Browse shelf(Opens below)) 1 Available 1000169911
Thesis/Research Thesis/Research PBRU Library
บรรณราชฯ ชั้น 5
วิทยานิพนธ์ มรภ.เพชรบุรี ชั้น 5 วพ 617.6 ว557พ (Browse shelf(Opens below)) 2 Available 1000169912
Browsing PBRU Library shelves, Shelving location: บรรณราชฯ ชั้น 5, Collection: วิทยานิพนธ์ มรภ.เพชรบุรี ชั้น 5 Close shelf browser (Hides shelf browser)
วพ 617.6 น624ค ความวิตกกังวลในการรับการบริการทันตกรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนชุมชนประชานิคม อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร : วิทยานิพนธ์ = | Anxiety in receiving dental services of the students in junior high school, at chumchonprachanikhom school, tha sae district, Chumphon Province / วพ 617.6 น646ป ประสิทธิผลของการใข้โปรแกรมทันตสุขศึกษาที่มีต่อพฤติกรรมการป้งกันโรคฟันผุของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 อำเภอบางสะพานน้อย จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ : วิทยานิพนธ์ = | The Effectiveness of a dental health education programme on dental caries preventive behavior among the sixth grade students in Bangsapannoi district, Prachuap Khirikhan province / วพ 617.6 น646ป ประสิทธิผลของการใข้โปรแกรมทันตสุขศึกษาที่มีต่อพฤติกรรมการป้งกันโรคฟันผุของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 อำเภอบางสะพานน้อย จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ : วิทยานิพนธ์ = | The Effectiveness of a dental health education programme on dental caries preventive behavior among the sixth grade students in Bangsapannoi district, Prachuap Khirikhan province / วพ 617.6 ว557พ พฤติกรรมการดูแลทันตสุขภาพเด็กก่อนวัยเรียนของผู้ปกครองในเขตอำเภอสวี จังหวีดชุมพร : วิทยานิพนธ์ = | Dental health care behaviors of parents for pre-school children in sawi district,Chumphon province / วพ 617.6 ว557พ พฤติกรรมการดูแลทันตสุขภาพเด็กก่อนวัยเรียนของผู้ปกครองในเขตอำเภอสวี จังหวีดชุมพร : วิทยานิพนธ์ = | Dental health care behaviors of parents for pre-school children in sawi district,Chumphon province / วพ 617.6 ว574ร 2559 รูปแบบการส่งเสริมทันตสุขภาพสำหรับเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสังกัดเทศบาลเมืองบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี : วิทยานิพนธ์ = | The model of dental health for six grade students at banpong municipality school of ratchaburi province / วพ 617.6 ว574ร 2559 รูปแบบการส่งเสริมทันตสุขภาพสำหรับเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสังกัดเทศบาลเมืองบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี : วิทยานิพนธ์ = | The model of dental health for six grade students at banpong municipality school of ratchaburi province /

วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2554

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับพฤติกรรมการดูแลทันตสุขภาพเด็ก ก่อนวัยเรียนของผู้ปกครอง และ 2) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการดูแลทันตสุขภาพเด็กก่อนวัเรียน ง ของผู้ปกครอง ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ ผู้ปกครองเด็กก่อนวัยเรียนที่อาศัยอยู่ในเขตอำเภอสวี จังหวัดชุมพร ทำการสุ่มแบบหลายขั้นตอนได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 280 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บ รวบรวมข้อมูลคือ แบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลทันตสุขภาพเด็กก่อนวัยเรียนของ ผู้ปกครองพร้อมทั้งการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกและการสังเกตจากสภาพการดำรงชีวิตของ ผู้ปกครอง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1. พฤติกรรมการดูแลทันตสุขภาพเด็กก่อนวัยเรียนของผู้ปกครอง ในเขตอำเภอสวี จังหวัดชุมพร อยู่ในระดับพอใช้ โดยเมื่อพิจารณาพฤติกรรมแต่ละด้าน พบว่า พฤติกรรมการดูแล การบริโภคอาหารอยู่ในระดับพอใช้ ส่วนพฤติกรรมการทำความสะอาดช่องปาก การตรวจฟันเด็กและ การพาเด็กไปพบทันตแพทย์นั้นอยู่ในระดับไม่ดี 2. ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการดูแลทันตสุขภาพเด็กก่อนวัยเรียนของผู้ปกครองพบว่า ปัจจัยเสริมด้านการได้รับการสนับสนุนทางสังคมจาก ญาติ เพื่อนบ้าน เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และ หน่วยงานต่าง ๆ มีผลมากที่สุด รองลงมาคือ ปัจจัยเอื้อด้านการเข้าถึงแหล่งขายอุปกรณ์ทำความสะอาด ฟันเด็ก และปัจจัยนำด้านความเชื่อเกี่ยวกับการดูแลทันตสุขภาพเด็กก่อนวัยเรียน ตามลำดับ อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนปัจจัยด้านอื่น ๆ ไม่มีผลต่อพฤติกรรมการดูแลทันตสุขภาพเด็ก ก่อนวัยเรียนของผู้ปกครอง

บริจาค

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Office of Academic Resources and Information Technology
    38 Moo. 8, Nawung Sub-District, Muang Phetchaburi District, Phetchaburi 76000 Thailand
    Tel: (032) 708609 Fax: (032) 708656 Email: library_office@mail.pbru.ac.th