รูปแบบการสื่อสารเพื่อสร้างการรับรู้ของชุมชนในการเข้าร่วมกิจกรรมของวัด เพื่อสืบทอดพระพุทธศาสนาของวัดทองนพคุณ จังหวัดเพชรบุรี : วิทยานิพนธ์ = Communication model for building perception of community in participating in temple's activities for inheriting buddhism at Wat Thong Noppakhun in Phetchaburi province / พระใบฎีกาสะอาด สุทธิญาโณ

By: พระใบฎีกาสะอาด สุทธิญาโณCall number: วพ 294.307 พ343ร 2563 Material type: BookBookPublisher: เพชรบุรี : สาขาวิชายุทธศาสตร์การพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2563Description: 100 แผ่น : ภาพประกอบ ; 30 ซม. + ซีดีรอม 1 แผ่นOther title: Communication model for building perception of community in participating in temple's activities for inheriting buddhism at Wat Thong Noppakhun in Phetchaburi provinceSubject(s): มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. สาขาวิชายุทธศาสตร์การพัฒนา -- วิทยานิพนธ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี -- วิทยานิพนธ์ -- 2563 | วัดทองนพคุณ -- วิทยานิพนธ์ -- เพชรบุรี | วัด -- การสื่อสาร -- วิทยานิพนธ์ | พุทธศาสนากับสังคม -- วิทยานิพนธ์DDC classification: วพ 294.307 พ343ร 2563 Online resources: cover | abstract | acknowledgement | content | chapter1 | chapter2 | chapter3 | chapter4 | chapter5 | bibliography | appendix Dissertation note: วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2563 Summary: การรับความเจริญแบบตะวันตกมาใช้ในการพัฒนาประเทศอาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ส่งผล กระทบกับสถาบันทางพระพุทธศาสนา หากพุทธศาสนิกชนขาดความเชื่อและศรัทธาในพระพุทธศาสนา อาจทำให้เสื่อมสลายไปจากสังคมไทย ดังนั้นผู้วิจัยจึงสนใจทำวิจัยเรื่องนี้โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการรับรู้ข้อมูลการสื่อสารของชุมชนในการเข้าร่วมกิจกรรมของวัดเพื่อสืบทอดพระพุทธศาสนาของวัดทองนพคุณ 2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ข้อมูลการสื่อสารของชุมชนกับการเข้าร่วมกิจกรรมของวัดเพื่อสืบทอดพระพุทธศาสนาของวัดทองนพคุณ และ 3) สร้างรูปแบบการสื่อสารเพื่อสร้างการรับรู้ของชุมชนในการเข้าร่วม กิจกรรมของวัดเพื่อสืบทอดพระพุทธศาสนาของวัดทองนพคุณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมของวัดทองนพคุณ อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี จำนวน 400 คน และประชาชน ที่เข้าร่วมสนทนากลุ่ม จำนวน 30 คน โดยใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามและการจัดสนทนากลุ่ม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติไคสแควร์ และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. การรับรู้ข้อมูลการสื่อสารของชุมชนในการเข้าร่วมกิจกรรมของวัดเพื่อสืบทอด พระพุทธศาสนาของวัดทองนพคุณ อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่รับรู้ข้อมูลข่าวสาร ของวัดทองนพคุณผ่านการประชาสัมพันธ์ผ่านทางอินเตอร์เน็ตและการใช้เครื่องขยายเสียงของวัดอยู่ในระดับมาก และประชาชนมีการเข้าร่วมกิจกรรมของวัดเพื่อสืบทอดพระพุทธศาสนาในระดับมากเช่นกัน 2. การรับรู้ข้อมูลการสื่อสารของชุมชนเกี่ยวกับการสื่อสารผ่านสื่อมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับ การเข้าร่วมกิจกรรมของวัดเพื่อสืบทอดพระพุทธศาสนาของวัดทองนพคุณอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 3. รูปแบบการสื่อสารเพื่อสร้างการรับรู้ที่สร้างขึ้นประกอบด้วยองค์ประกอบที่สำคัญเฉพาะ 5 องค์ประกอบ คือ 1) ผู้ส่งสารเป็นเจ้าอาวาสของวัดหรือพระสงฆ์ที่มีพรรษาสูงของวัด 2) เนื้อหาสาระของ สารเป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติกิจทางพุทธศาสนา 3) ช่องทางการสื่อสารใช้สื่อออนไลน์ร่วมกับ เครื่องขยายเสียงและการบอกกล่าว 4) ผู้รับสารเป็นกลุ่มที่นิยมปฏิบัติกิจทางพุทธศาสนาและกลุ่มผู้สูงอายุที่มี สมาชิกในครอบครัวเป็นผู้ดูแล ติดตาม พาเข้าร่วมกิจกรรมของวัด และ 5) ปฏิกิริยาตอบสนองกลับและการมี ปฏิสัมพันธ์เป็นหัวใจของการแสดงออกของการรับรู้ ข้อค้นพบจากการวิจัยแสดงให้เห็นว่าการสื่อสารเพื่อสร้างการรับรู้ที่ดีขึ้นในการเข้าร่วมกิจกรรม ของวัดมีความสำคัญ โดยเฉพาะการสื่อสารกับคนในชุมชนรอบวัด ดังนั้นการสืบทอดพระพุทธศาสนา จำเป็นต้องใช้ยุทธศาสตร์ที่มีรูปแบบและกระบวนการเฉพาะที่เหมาะสมและสอดคล้องกับยุคสมัย ที่เปลี่ยนแปลงไป
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Collection Call number Copy number Status Date due Barcode
Thesis/Research Thesis/Research PBRU Library
บรรณราชฯ ชั้น 5
วิทยานิพนธ์ ชั้น 5 วพ 294.307 พ343ร 2563 (Browse shelf(Opens below)) 1 Available 1000209752
Thesis/Research Thesis/Research PBRU Library
บรรณราชฯ ชั้น 5
วิทยานิพนธ์ ชั้น 5 วพ 294.307 พ343ร 2563 (Browse shelf(Opens below)) 2 Available 1000209753
Browsing PBRU Library shelves, Shelving location: บรรณราชฯ ชั้น 5, Collection: วิทยานิพนธ์ ชั้น 5 Close shelf browser (Hides shelf browser)
วพ 294.3013 พ343ก 2564 การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียนด้วยกระบวนการเขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักเรียนโรงเรียนวัดทองนพคุณ จังหวัดเพชรบุรี : วิทยานิพนธ์ = | Development for student’s morality and ethics with essay writing process of theme on dhamma subject of students at Wat Thong Noppakhun school, Phetchaburi province. / วพ 294.3013 ว378ก 2565 การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ตามหลักทิศ 6 โดยกระบวนการส่งธรรมะสู่ชุมชน ของวัดทองนพคุณ อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี : วิทยานิพนธ์ = | Virtue and morality development according to six-direction dhamma through process of dhamma delivery into community of Wat Thong Noppakun in Meaung district in Phetchaburi province. / วพ 294.3013 ว378ก 2565 การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ตามหลักทิศ 6 โดยกระบวนการส่งธรรมะสู่ชุมชน ของวัดทองนพคุณ อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี : วิทยานิพนธ์ = | Virtue and morality development according to six-direction dhamma through process of dhamma delivery into community of Wat Thong Noppakun in Meaung district in Phetchaburi province. / วพ 294.307 พ343ร 2563 รูปแบบการสื่อสารเพื่อสร้างการรับรู้ของชุมชนในการเข้าร่วมกิจกรรมของวัด เพื่อสืบทอดพระพุทธศาสนาของวัดทองนพคุณ จังหวัดเพชรบุรี : วิทยานิพนธ์ = | Communication model for building perception of community in participating in temple's activities for inheriting buddhism at Wat Thong Noppakhun in Phetchaburi province / วพ 294.307 พ343ร 2563 รูปแบบการสื่อสารเพื่อสร้างการรับรู้ของชุมชนในการเข้าร่วมกิจกรรมของวัด เพื่อสืบทอดพระพุทธศาสนาของวัดทองนพคุณ จังหวัดเพชรบุรี : วิทยานิพนธ์ = | Communication model for building perception of community in participating in temple's activities for inheriting buddhism at Wat Thong Noppakhun in Phetchaburi province / วพ 294.33 พ346บ บทบาทพระสงฆ์ในการอนุรักษ์โบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ ในอำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี : วิทยานิพนธ์ / วพ 294.3437 ช721ก 2544 การวิเคราะห์การแสดงวิตรรกมุทราสองพระหัตถ์ของพระพุทธรูปในศิลปะทวารวดี : วิทยานิพนธ์ /

วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2563

การรับความเจริญแบบตะวันตกมาใช้ในการพัฒนาประเทศอาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ส่งผล กระทบกับสถาบันทางพระพุทธศาสนา หากพุทธศาสนิกชนขาดความเชื่อและศรัทธาในพระพุทธศาสนา อาจทำให้เสื่อมสลายไปจากสังคมไทย ดังนั้นผู้วิจัยจึงสนใจทำวิจัยเรื่องนี้โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการรับรู้ข้อมูลการสื่อสารของชุมชนในการเข้าร่วมกิจกรรมของวัดเพื่อสืบทอดพระพุทธศาสนาของวัดทองนพคุณ 2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ข้อมูลการสื่อสารของชุมชนกับการเข้าร่วมกิจกรรมของวัดเพื่อสืบทอดพระพุทธศาสนาของวัดทองนพคุณ และ 3) สร้างรูปแบบการสื่อสารเพื่อสร้างการรับรู้ของชุมชนในการเข้าร่วม กิจกรรมของวัดเพื่อสืบทอดพระพุทธศาสนาของวัดทองนพคุณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมของวัดทองนพคุณ อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี จำนวน 400 คน และประชาชน ที่เข้าร่วมสนทนากลุ่ม จำนวน 30 คน โดยใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามและการจัดสนทนากลุ่ม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติไคสแควร์ และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า
1. การรับรู้ข้อมูลการสื่อสารของชุมชนในการเข้าร่วมกิจกรรมของวัดเพื่อสืบทอด พระพุทธศาสนาของวัดทองนพคุณ อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่รับรู้ข้อมูลข่าวสาร ของวัดทองนพคุณผ่านการประชาสัมพันธ์ผ่านทางอินเตอร์เน็ตและการใช้เครื่องขยายเสียงของวัดอยู่ในระดับมาก และประชาชนมีการเข้าร่วมกิจกรรมของวัดเพื่อสืบทอดพระพุทธศาสนาในระดับมากเช่นกัน
2. การรับรู้ข้อมูลการสื่อสารของชุมชนเกี่ยวกับการสื่อสารผ่านสื่อมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับ การเข้าร่วมกิจกรรมของวัดเพื่อสืบทอดพระพุทธศาสนาของวัดทองนพคุณอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
3. รูปแบบการสื่อสารเพื่อสร้างการรับรู้ที่สร้างขึ้นประกอบด้วยองค์ประกอบที่สำคัญเฉพาะ 5 องค์ประกอบ คือ 1) ผู้ส่งสารเป็นเจ้าอาวาสของวัดหรือพระสงฆ์ที่มีพรรษาสูงของวัด 2) เนื้อหาสาระของ สารเป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติกิจทางพุทธศาสนา 3) ช่องทางการสื่อสารใช้สื่อออนไลน์ร่วมกับ เครื่องขยายเสียงและการบอกกล่าว 4) ผู้รับสารเป็นกลุ่มที่นิยมปฏิบัติกิจทางพุทธศาสนาและกลุ่มผู้สูงอายุที่มี สมาชิกในครอบครัวเป็นผู้ดูแล ติดตาม พาเข้าร่วมกิจกรรมของวัด และ 5) ปฏิกิริยาตอบสนองกลับและการมี ปฏิสัมพันธ์เป็นหัวใจของการแสดงออกของการรับรู้ ข้อค้นพบจากการวิจัยแสดงให้เห็นว่าการสื่อสารเพื่อสร้างการรับรู้ที่ดีขึ้นในการเข้าร่วมกิจกรรม ของวัดมีความสำคัญ โดยเฉพาะการสื่อสารกับคนในชุมชนรอบวัด ดังนั้นการสืบทอดพระพุทธศาสนา จำเป็นต้องใช้ยุทธศาสตร์ที่มีรูปแบบและกระบวนการเฉพาะที่เหมาะสมและสอดคล้องกับยุคสมัย ที่เปลี่ยนแปลงไป

บริจาค

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Office of Academic Resources and Information Technology
    38 Moo. 8, Nawung Sub-District, Muang Phetchaburi District, Phetchaburi 76000 Thailand
    Tel: (032) 708609 Fax: (032) 708656 Email: library_office@mail.pbru.ac.th