การพัฒนารูปแบบการบริหารโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 : วิทยานิพนธ์ = The administrative model development of quality schools in sub-districts under Prachuap Khiri Khan primary educational service area office 1 / ศุลีพร พึ่งมี

By: ศุลีพร พึ่งมีCall number: วพ 371.2 ศ747ก 2564 Material type: BookBookPublisher: เพชรบุรี : สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2564Description: 104 แผ่น : ภาพประกอบ ; 30 ซม. + ซีดีรอม 1 แผ่นOther title: The administrative model development of quality schools in sub-districts under Prachuap Khiri Khan primary educational service area office 1Subject(s): มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา -- วิทยานิพนธ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี -- วิทยานิพนธ์ -- 2564 | โรงเรียน -- การบริหาร -- วิทยานิพนธ์ | ครู -- การทำงาน -- วิทยานิพนธ์ | บุคลากรโรงเรียน -- วิทยานิพนธ์Genre/Form: การพัฒนารูปแบบ | โรงเรียนคุณภาพประจำตำบล | เทคนิคเดลฟาย | กสรบริหารโรงเรียนDDC classification: วพ 371.2 ศ747ก 2564 Online resources: cover | abstract | acknowledgement | content | chapter1 | chapter2 | chapter3 | chapter4 | chapter5 | bibliography | appendix Dissertation note: วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2564 Summary: โรงเรียนคุณภาพประจำตำบลเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน ให้บริการทางการศึกษาและพัฒนานักเรียนในพื้นที่ซึ่งโรงเรียนแต่ละแห่งควรมีรูปแบบการบริหารที่สอดคล้องกับบริบทของตนเอง ดังนั้นผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 โดยกลุ่มผู้ให้ข้อมูลในงานวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้อำนวยการสำนักพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 1 คน ผู้บริหารระดับเขตพื้นที่การศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์เขต 1 จำนวน 2 คน ผู้บริหารโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล สังกัดสำนักงานเขตพื้นทีการศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 จำนวน 5 คน ศึกษานิเทศก์สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์เขต 1 จ านวน 3 คน และอาจารย์สาขาวิชาการบริหารการศึกษา จำนวน 3 คน รวมทั้งสิ้น 14 คน โดยเป็นการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามความคิดเห็นประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.99 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและเทคนิคเดลฟาย ผลการวิจัยพบว่า ผลการพัฒนารูปแบบการบริหารโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 มี 7 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาเป็นการพัฒนาความรู้ความสามารถของครูและบุคลากรทางการศึกษา 2) การวัดผลและประเมินผลเป็นกระบวนการตรวจสอบการปฏิบัติงาน โดยมีความโปร่งใสในการดำเนินงานของสถานศึกษาและมีเกณฑ์การวัดผลประเมินผลที่ชัดเจน 3) การมีส่วนร่วม เป็นกระบวนการดำเนินงานที่ต้องอาศัย ความร่วมมือของเครือข่ายโรงเรียนคุณภาพประจำตำบลและความร่วมมือระหว่างเอกชน บ้าน วัด/ศาสนสถานอื่นๆ 4) ภาวะผู้นำ ผู้บริหารสถานศึกษาจะต้องมีความพร้อม ในการบริหารจัดการ สามารถแก้ปัญหาการปฏิบัติงานอย่างมีคุณภาพ 5) การวางแผนกลยุทธ์ เป็นการวางแผนการปฏิบัติการทั้งระยะสั้นและระยะยาวที่เป็นรูปธรรม ซึ่งสามารถปรับใช้ได้ตามสถานการณ์ 6) การใช้เครื่องมือและเทคโนโลยีการใช้เครื่องมือและเทคโนโลยีที่ทันสมัยจะช่วยส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นและรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในสังคมโลก และ 7) การทำงานเป็นทีม เป็นการร่วมมือร่วมใจของผู้อำนวยการโรงเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา และหน่วยงานองค์กรภายในและภายนอก ในการขับเคลื่อนและพัฒนาโรงเรียนคุณภาพประจำตำบลให้ประสบความสำเร็จ ข้อค้นพบจากการวิจัยแสดงให้เห็นว่า รูปแบบการบริหารโรงเรียนคุณภาพประจำตำบลมีความเหมาะสมกับบริบทของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 ดังนั้นผู้บริหารสถานศึกษาจึงควรมีการพัฒนาโรงเรียนคุณภาพประจำตำบลให้เป็นไปตามรูปแบบที่ค้นพบโดยนำไปพัฒนาสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Collection Call number Copy number Status Date due Barcode
Thesis/Research Thesis/Research PBRU Library
บรรณราชฯ ชั้น 5
วิทยานิพนธ์ ชั้น 5 วพ 371.2 ศ747ก 2564 (Browse shelf(Opens below)) 1 Available 1000209750
Thesis/Research Thesis/Research PBRU Library
บรรณราชฯ ชั้น 5
วิทยานิพนธ์ ชั้น 5 วพ 371.2 ศ747ก 2564 (Browse shelf(Opens below)) 2 Available 1000209751
Browsing PBRU Library shelves, Shelving location: บรรณราชฯ ชั้น 5, Collection: วิทยานิพนธ์ ชั้น 5 Close shelf browser (Hides shelf browser)
วพ 371.2 พ924ก 2563 การสร้างเครือข่ายการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา (STEM) เพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมในโรงเรียนมัธยมศึกษาจังหวัดเพชรบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 10 : วิทยานิพนธ์ = | Creating a stem network of educational management (STEM) to develop innovative thinking skills in secondary schools Phetchaburi province under the secondary educational service areas office 10. / วพ 371.2 ว495ก 2564 การพัฒนาตัวบ่งชี้คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียน นักศึกษา ในศตวรรษที่ 21 สังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดเพชรบุรี : วิทยานิพนธ์ = | The development of the desirable characteristic indicators of phetchaburi vocational college students of the 21st century. / วพ 371.2 ว495ก 2564 การพัฒนาตัวบ่งชี้คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียน นักศึกษา ในศตวรรษที่ 21 สังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดเพชรบุรี : วิทยานิพนธ์ = | The development of the desirable characteristic indicators of phetchaburi vocational college students of the 21st century. / วพ 371.2 ศ747ก 2564 การพัฒนารูปแบบการบริหารโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 : วิทยานิพนธ์ = | The administrative model development of quality schools in sub-districts under Prachuap Khiri Khan primary educational service area office 1 / วพ 371.2 ศ747ก 2564 การพัฒนารูปแบบการบริหารโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 : วิทยานิพนธ์ = | The administrative model development of quality schools in sub-districts under Prachuap Khiri Khan primary educational service area office 1 / วพ 371.2 ส232ร รูปแบบการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสู่ความเป็นเลิศ : ดุษฎีนิพนธ์ / วพ 371.2 ส723ก การศึกษาผลการประเมินตนเองในการพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา เรื่อง การบริหารโรงเรียนเป็นฐานโดยใช้สื่อมัลติมีเดีย = | A Study of Self Evaluation Results in The Development of Education Institution Administrators on School-Based Managrment by Using Multimedia /

วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 2564

โรงเรียนคุณภาพประจำตำบลเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน ให้บริการทางการศึกษาและพัฒนานักเรียนในพื้นที่ซึ่งโรงเรียนแต่ละแห่งควรมีรูปแบบการบริหารที่สอดคล้องกับบริบทของตนเอง ดังนั้นผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 โดยกลุ่มผู้ให้ข้อมูลในงานวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้อำนวยการสำนักพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 1 คน ผู้บริหารระดับเขตพื้นที่การศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์เขต 1 จำนวน 2 คน ผู้บริหารโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล สังกัดสำนักงานเขตพื้นทีการศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 จำนวน 5 คน ศึกษานิเทศก์สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์เขต 1 จ านวน 3 คน และอาจารย์สาขาวิชาการบริหารการศึกษา จำนวน 3 คน รวมทั้งสิ้น 14 คน โดยเป็นการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามความคิดเห็นประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.99 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและเทคนิคเดลฟาย
ผลการวิจัยพบว่า
ผลการพัฒนารูปแบบการบริหารโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 มี 7 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาเป็นการพัฒนาความรู้ความสามารถของครูและบุคลากรทางการศึกษา 2) การวัดผลและประเมินผลเป็นกระบวนการตรวจสอบการปฏิบัติงาน โดยมีความโปร่งใสในการดำเนินงานของสถานศึกษาและมีเกณฑ์การวัดผลประเมินผลที่ชัดเจน 3) การมีส่วนร่วม เป็นกระบวนการดำเนินงานที่ต้องอาศัย ความร่วมมือของเครือข่ายโรงเรียนคุณภาพประจำตำบลและความร่วมมือระหว่างเอกชน บ้าน วัด/ศาสนสถานอื่นๆ 4) ภาวะผู้นำ ผู้บริหารสถานศึกษาจะต้องมีความพร้อม ในการบริหารจัดการ สามารถแก้ปัญหาการปฏิบัติงานอย่างมีคุณภาพ 5) การวางแผนกลยุทธ์ เป็นการวางแผนการปฏิบัติการทั้งระยะสั้นและระยะยาวที่เป็นรูปธรรม ซึ่งสามารถปรับใช้ได้ตามสถานการณ์ 6) การใช้เครื่องมือและเทคโนโลยีการใช้เครื่องมือและเทคโนโลยีที่ทันสมัยจะช่วยส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นและรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในสังคมโลก และ 7) การทำงานเป็นทีม เป็นการร่วมมือร่วมใจของผู้อำนวยการโรงเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา และหน่วยงานองค์กรภายในและภายนอก ในการขับเคลื่อนและพัฒนาโรงเรียนคุณภาพประจำตำบลให้ประสบความสำเร็จ
ข้อค้นพบจากการวิจัยแสดงให้เห็นว่า รูปแบบการบริหารโรงเรียนคุณภาพประจำตำบลมีความเหมาะสมกับบริบทของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 ดังนั้นผู้บริหารสถานศึกษาจึงควรมีการพัฒนาโรงเรียนคุณภาพประจำตำบลให้เป็นไปตามรูปแบบที่ค้นพบโดยนำไปพัฒนาสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง

บริจาค

There are no comments on this title.

to post a comment.
    Office of Academic Resources and Information Technology
    38 Moo. 8, Nawung Sub-District, Muang Phetchaburi District, Phetchaburi 76000 Thailand
    Tel: (032) 708609 Fax: (032) 708656 Email: library_office@mail.pbru.ac.th